Розмір відео: 1280 X 720853 X 480640 X 360
Показувати елементи керування програвачем
Автоматичне відтворення
Автоповтор
คุณคิมครับ!!! ข้อมูลที่นำเสนอในคลิปนี้ยังไม่ครบถ้วนนะครับรัฐบาลไทยไม่ได้ทำแค่นี้...แต่นายกของไทยยังมีโครงการอื่นๆตาม"แผนยุทธศาสตร์ชาติ20ปี" เช่น "โครงการเขตพัฒนาพิเศษ" ซึ่งกำหนดไว้ในแต่ละภูมิภาค ที่กำลังทำอยู่คือที่ ภาคตะวันออก(EEC) ที่มีทั้งรถไฟฟ้าเชื่อม 3 สนามบิน สร้างสนามบินเพิ่มที่อู่ตะเภา-ระยอง และขยายท่าเรือน้ำลึกขนถ่ายสิค้าทั่วโลกที่มาบตาพุตเฟส 3 อีกด้วยแล้วยังมีเขตพัฒนาพิเศษที่อื่นๆภาคเหนือ(NEC) (เชียงใหม่,เชียงราย,ลำปาง,ลำพูน)ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(NeEC)(โคราช,ขอนแก่น,อุดรธานี,หนองคาย)ภาคตะวันตก(WEC)(กาญจนบุรี,สุพรรณบุรี,ราชบุรี)ภาคใต้(SEC)(ชุมพร,ระนอง,สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช)แล้วยังสร้าง"ท่าบก"เพิ่มเติม เช่น ที่เชียงราย,หนองคาย,นครราชสีมา และที่อื่นจะตามมา ซึ่งอยู่ตามชายแดนทั้งหมด เมื่อมีรถไฟเชื่อมไปถึง เพื่อรวบรวมและกระจายสินค้าออกต่างประเทศแล้วยังสร้าง"ท่าเรือน้ำลึก"ที่ระนองและชุมพร(โครงการแลนด์บริดจ์) เพื่อรองรับการขนถ่ายสินค้าจากทั่วโลกจากสองฝั่งทะเล ให้ขนส่งสินค้าต่างๆ,ก๊าซและน้ำมันผ่านไทยไปจีนและอาเซียนแล้วที่สำคัญโครงการรถไฟของไทยทั้งหมด ทั้งรถไฟฟ้าและโครงการขยายรางคู่รถไฟเพิ่มเติมระยะทางรวม 900 กม.ทั่วไทย ก็ไม่ได้กู้เงินจีนสักบาทเดียว แต่รัฐบาลไทยออกแบบแล้วเปิดประมูลงานการก่อสร้าง รัฐร่วมลงทุนบางส่วน คือในส่วนของที่ดินโครงการและงานโยธา(ปูน-เหล็กและวิศวกรของไทย100%) แล้วแบ่งปันผลกำไรกันแบบรายปีให้กับกลุ่มทุนเอกชนไทย(PPP)ที่มาบริหารงานระบบและงานบริหารสถานี รัฐบาลไทยจึงบริหารเงินลงทุนได้เอง กำหนดค่าโดยสารและค่าขนส่งสินค้าได้เองและรัฐบาลมีโครงการสร้างตู้รถไฟใช้เองอีกด้วย(โครงการรถไฟไทยทำ)และที่สำคัญไทยติดอันดับประเทศที่น่าท่องเที่ยว และได้ลำดับที่หนึ่งของโลกหลายปี มีนักท่องเที่ยวที่เข้ามาจากจีนอันดับหนึ่งและจากทั่วโลกรวมกันแล้วมากกว่า 30 ล้านคนทุกปี และจะมากขึ้นไปอีกเรื่อยๆ จากประเทศต่างๆในอาหรับ, แอฟริกา, อเมริกาใต้ ที่รัฐบาลไทยไปเปิดความสัมพันธ์ใหม่ๆ เช่น ซาอุดิอาระเบีย, ยูเออี เป็นต้นดังนั้นโครงการรถไฟฟ้าที่จะสร้างในแต่ภูมิภาคของไทยจึงไม่ขาดทุนเหมือนที่จีนหรือลาวอย่างแน่นอนแต่"รถไฟไทย"จะช่วยเร่งการพัฒนาเชิงพื้นที่ ช่วยกระจายการพัฒนาด้านอสังหาริมทรัพย์ไปทั่วไทย ช่วยกระจายภาคอุสาหกรรม ช่วยเพิ่มการจ้างงาน ช่วยเพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการเดินทางท่องเที่ยว และช่วยกระจายการขนส่งสินค้าต่างๆและสินค้าทางการเกษตรทั้งภายในประเทศและการส่งออกไปต่างประเทศ ได้ทั่วถึง,สะดวกและรวดเร็วกว่าเดิมไทยจะกลายเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าจากทั่วโลกไปในภูมิภาคอาเซียนได้สมบูรณ์แบบ ช่วยเพิ่มรายได้ให้ประเทศไทยอย่างก้าวกระโดด เหมือนที่จีนทำสำเร็จด้วยรถไฟ แล้วทำให้เศรษฐกิจและรายได้จีนเพิ่มขึ้นมาเป็นอันดับสองของโลกภายในเวลาแค่ 20 ปี
เห็นด้วยครับ
ทําเขตพิเศษแต่นายทุนไปเวียดนามอินโดหมดแลัวเดียวคงเป็นเขตป่าช้าแน่ค่อยดูแค่ในเมืองยังไปเกือบหมดแลัวอย่าคาดหวังเลย
ถ้าอยากได้เงินใหลเข้าประเทศจริงๆต้องทำให้สถานที่จังหวัดไม่ค่อยมีนักลงทุนนักท่องเที่ยวเป็นเขตปลอดภาษี ไม่งั้นเลื่อมล้ำนักกว่าเดิมอีก เพราะเวลาใช้หนี้ประชาชนใช้ทั้งประเทศแต่เวลาเจริญไก้กำไลมันแค่คนบ่างกลุ่มบางพื้นที่เท่านั้น
ใช่เลยข้อมูลคุณแน่นที่สำคัญไม่ได้ทำแค่รถไฟพัฒนาครบวงจร. ล้อ ราง เรือ เครื่องบิน เชื่อมกันแบบไร้รอยต่อถนนรถไฟท่าเรือสนามบินระบบน้ำเขตเศรษฐกิจพิเศษทุกภาคเขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนวชายแดน
นครราชสีมา ไม่ใช่ภาคใต้ครับ
ไม่ต้องคิดอะไรมากครับ.. ตั้งแต่ประเทศไทยเรามี "กรมการขนส่งทางบก, กรมทางหลวง" แล้วตัดถนนกันพรึ่บพรับทั่วประเทศมาตลอด 70-80 ปีที่ผ่านมาเนี่ย เคยมีใครลุกขึ้นมาถามไหมครับว่า ถนนหลวง ซุปเปอร์ไฮเวย์ ฯลฯ ที่ทุ่มงบประมาณทั้งสร้างใหม่ทั้งบำรุงรักษาของเดิมปีละ 6-7 หมื่นล้านบาททุกๆปีนี้ กรมทางหลวง-กรมการขนส่งทางบกทำกำไรจากถนนหลวงได้ปีละเท่าไหร่...???คำตอบคือขาดทุนมาตลอดครับ ไม่เคยได้กำไร แต่ความจริงกำไรมันก็คือการได้ขยายความเจริญ การที่ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นนั่นเองไม่ต่างกันกับ "กรมการขนส่งทางราง" ถ้าจะมีใครมาโวยวายว่ารถไฟขาดทุน ก็ต้องถามกลับไปว่า "แล้วกรมทางหลวงทำกำไรต่อปีได้เท่าไหร่เหรอครับ...???"ซึ่งก็คือทั้งระบบถนน-ระบบราง ต่างก็เป็นโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมที่รัฐต้องจัดให้บริการแก่ประชาชนอย่างดี เข่นเดียวกันกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน, การรักษาพยาบาล... ฯลฯ ที่ไม่สามารถเอามาคิดกำไร-ขาดทุนทางตรงเป็นตัวเลขได้ที่สำคัญที่สุดหลังจากโครงสร้างพื้นฐานระบบรางได้รับการปรับปรุงอย่างทั่วถึง จะส่งผลให้ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ของประเทศลดลงได้ถึง 70-80% เปรียบเทียบรถหัวลากหนึ่งคันขนตู้คอนเทนเนอร์หนึ่งตู้ไปในระยะทางหนึ่ง แต่หัวรถจักรหนึ่งหัวใช้พลังงานเท่ากับรถหัวลากสองคันแต่ขนตู้คอนเทนเนอร์ไปทางรางได้ 50-70 ตู้ในระยะทางที่เท่ากัน ซึ่งหลังจากระบบรางทั่วประเทศแล้วเสร็จ จะส่งผลให้รถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ 50-60% หายไปจากถนนหลวง ลดความคับคั่งของของทางหลวง เหลือแต่รถบัส(ซึ่งก็จะหายไปมากกว่า 50%)และรถยนต์ส่วนตัว ซึ่งจะส่งผลให้การสัญจรบนทางหลวงมีความปลอดภัยมากขึ้น ยังไม่พูดถึงการบริโภคพลังานปิโตรเลียมของประเทศที่จะลดลงอย่างมหาศาล
ไม่ใช่ว่าในน้ำมันที่เราซื้อๆกันอยู่รวมภาษีในการสร้างแล้วก็ซ่อมบำรุงถนนอยู่เหรอครับ????
@@gigabitelakmak6734 ภาษีสรรพสามิตรของน้ำมัน มันวิ่งไปกระทรวงการคลังนะครับ ไม่ได้วิ่งไปกรมทางหลวง แล้วสำนักงบประมาณก็จัดสรรเงินมาให้สร้างทาง-ซ่อมบำรุงทางให้กรมทางหลวงอีกที
จริงครับ มัวเเต่คิดเรื่องขาดทุนไม่คุ้มการลงทุน ประเทศก็ไม่พัฒนาไปไหนสักที สิ่งที่จะได้ประโยชน์คือประชาชนจะได้มีตัวเลือกการเดินทางเเละมันจะพัฒนาไปตามหัวเมืองต่างๆที่เร็วไฟความเร็วสูงผ่าน เกิดการจ้างงานขึ้นประชาชนมีรายได้ เมืองพัฒนา นักลงทุนมันไม่ค่อยมองจุดนี้หรอกครับ มีเเต่หวังผลประโยชน์ของตัวเอง
@@thasspongthapsang6769 เข้าท้องถิ่นด้วยไม่ใช่หรอครับ
นึกถึงจังหวัดไม่มีรถไฟ แล้วรอคอยมาหลายวิบปี เชียงราย รอมาจะร้อยปีแล้ว
ถูกต้องครับขาดทุนแต่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมันก็ต้องทำ1. ขาดทุนแหง ๆ (แต่ต้องทำ)2.มีการจ้างงาน3.ตรงไหนมีการคมนาคมตรงนั้นจะเจริญ เมืองจะขยายตัว จะเกิดเมืองใหม่4.ค่าใช้จ่ายถูกกว่าขนส่งแบบอื่น
มัวเเต่คิดเรื่องกำไรขาดทุน ประเทศก็ไม่พัฒนาไปไหนสักที จริงอยู่ว่าเเรกๆมันขาดทุนเเต่สิ่งที่ได้ประโยชน์คือประชาชนจะได้มีตัวเลือกในการเดินทาง เเละรถไฟฟ้าความเร็วสูงผ่านที่ไหนมันก็จะเกิดการจ้างงานขึ้น เศรษฐกิจก็ดีขึ้น เมืองพัฒนาตามไปด้วย กระจายความเจริญไปตามจังหวัดต่างๆ เเต่ก็อย่างว่าเเหละนักลงทุนมันก็จะมองเเค่ผลประโยชน์ส่วนตัว ไม่ได้มองถึงการพัฒนาของประเทศเป็นหลัก
แบบศรีลังกาไง ล้มละลาย 55555
@@พรรษชลพงษ์แก้ว ยุคนี้มีมีทางไทยเคยเจอมาแล้วยุคชวลิตเป็นนายกทักษิณเป็นรมต
จริงอย่างว่า ทำไมต้องมานั่งคิด ขาดทุนหรือกำไร เพราะอะไร เงินที่ใช้ก็เป็นภาษีประชาชน รัฐไม่ได้หาเงินมาใช้หนี้ แต่เป็นประชาชนที่ต้องเสียภาษีเพื่อใช้หนี้ ที่รัฐบาลกู้มา รัฐบาลไม่ได้มีกิจการอะไรทุกๆอย่างล้วนมาจากภาษีของประชาชน ที่ขาดทุนแน่ๆ น่าจะมาจากการคอรัปชั่นในรัฐบาลซะมากกว่า ไม่เห็นเก็บเอามาคิดกัน
@@พรรษชลพงษ์แก้ว กรณีของศรีลังกามันไม่เหมือนของไทย ของไทยกู้ภายในประเทศเป็นหลักเเต่ของศรีลังกากู้ต่างประเทศ
ใช่ครับ เคยมีโครงการสายไฟลงดินพวกผู้บริการสายเคเบิ้ลออกมาโวยยับ
รายการนี้ตอบได้ถูกใจ พูดได้เนื้อหาดีมากๆยอดเยี่ยม...
ฝอยไปเรื่อยเปื่อยเนี่ยนะ เสียเวลาดู
@@กําธรแก้วกลางใจ น้ำเยอะมาก
คิดเสียว่ามันเป็นการบริการจากรัฐ และการนำความเจริญมาสู่ที่รถไฟวิ่งผ่าน มันก็เหมือนการให้บริการรถเมล์ของ กทม.ที่ขาดทุนมาตลอดมีหนี้สะสมเป็นแสนล้านถ้าคิดถึงขาดทุนกำไรมันก็ต้องเลิกให้บริการรถเมล์ไปเพราะมันขาดทุน ที่จีนรถไฟฟ้าใต้ดินเขาคิดแค่ 2 หยวน ( 10 บาท)ไม่ว่าคุณจะต่อกี่สายก็ตามตราบใดที่คุณยังไม่ออกจากระบบเขาก็คิดแค่ 2 หยวน มันต้องขาดทุนแน่ แต่มันเป็นการบริการจากรัฐ มันก็เหมือนท่านที่คอมเม้นก่อนหน้า ว่าทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงชนบท ยาวเป็น แสนกิโล สร้างแล้วทางหลวงได้กำไรไหมสร้างขยายทุกปีรวมทั้งการซ่อมบำรุง มันไม่ขาดทุนย่อยยับเหรอ
แกรู้แล้ว แกทำคลิปเรียกยอดวิว 5555....
ถูกของคุณถ้าเป็นการบริการประชาชนให้สดวกสบายก็ถือว่าคุ้มเอาประชาชนเป็นหลักวิเคราะห์แบบเอียงๆหรือเปล่า?คิดว่าไทยไม่ได้โง่ขนาดนั้นและไม่ได้กู้จีนด้วยแม้แต่บาทเดียว
ฟังคลิปให้จบอย่างตั้งใจ
ไทยได้เปรียบตรง มีนักท่องเที่ยวเข้ามาใช้ด้วย นอกจากคนในประเทศ และถ้าการก่อสร้างทำให้เกิดการจ้างงาน และเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจจากการลงทุนสร้าง ก็ได้ทุนคืนมาส่วนหนึ่งแล้ว นอกจากนี้ยังดึงการลงทุนเข้ามาลงทุนในไทยอีกเพราะระบบขนส่งทันสมัยรวดเร็ว เพิ่มนักท่องเที่ยวได้อีกเพราะไม่เสียเวลา ทำให้เที่ยวได้หลายที่ในเวลาเท่ากัน
ต่างชาติมาเที่ยวประเทศไทยเพราะชอบเที่ยววัดในพุทธศาสนาและศิลปะวัฒนธรรมประเพณีทางพุทธศาสนา ประเทศอินโดนีเซียมีเกาะเป็นหมื่นเกาะ ฟิลิปปินส์มีเกาะเกือบหมื่นเกาะ ประเทศอื่นมีทะเลภูเขาที่สวยงามมากกว่าประเทศไทยแต่ประเทศเหล่านั้นไม่ได้นับถือศาสนาพุทธ เช่นอินโดนีเซียนับถือศาสนาอิสลาม ชาวตะวันตกฝรั่งไม่กล้าไปเที่ยวประเทศอิสลามเพราะรู้สึกไม่ปลอดภัย ประเทศไทยต่างชาติมองว่าเป็นเมืองพุทธทำให้คนมาเที่ยวประเทศไทย แต่ปัจจุบันมีขบวนการโค่นล้มทำลายพระพุทธศาสนา มีนักข่าวโจมตีทำลายศาสนาพุทธ มีคนจากหน่วยงานราชการกดขี่ข่มเหงรังแกพระสงฆ์เพื่อทำลายศาสนาพุทธ รัฐบาลและหน่วยงานราชการได้เงินภาษีจากการท่องเที่ยวที่ต่างชาติมาเที่ยววัดในพุทธศาสนาแต่รัฐบาลกับหน่วยงานราชการไม่ส่งเสริมไม่สนับสนุนศาสนาพุทธ ชาวพุทธต้องรู้ความจริง
แค่คิดก็ไม่เจริญแล้ว จะกู้ไปทำไมในเมื่อสร้างเองได้ วัสดุก่อ สร้างก็มี ทำไมไทยไม่เอา ไทยเอา แต่จีนไม่ให้ เพราะจีนต้องการ สร้างเองจ้างงานคนจีนใช้วัสดุจีนทุกอย่สงจีน คำว่าจ้างงานทิ้งไปได้เลย คำว่ากำไร ก็ทิ้งไปได้เลย ควาทเจริญ มีแน่ แต่ต้องไม่ใช่ของจีนทั้งหมด อาจมีรถไฟจีนได้ แต่ทุกอย่างไม่ต้องเป็นของจีน ดูข้อมูลและข้อตกลงบ้างอย่าดูแคาโปรเจค
แย่งลูกค้ากับเครื่องบิน แย่งกันขาดทุน
ครับอย่างน้อยก็เป็นการพัฒนาปรับปรุงระบบรถไฟซึ่งไม่ได้พัฒนามานานแล้ว
@@supphasekalive7677 เป็นทางเลือก
อย่างน้อยเราก็..ยังบริหารรถไฟฯได้ ลงทุนเอง.. การลงทุนทุกอย่าง..มีความเสี่ยง..เหมือนกับ หุ้น..ครับ..แต่การท่องเที่ยวดีแน่...ความเจริญตามมาแน่..แล้วถ้าเรา..ไม่กล้าลงทุน..ความเจริญก้าวหน้าจะเกิดไหม..ครับ... ยังมีช่องทางหารายได้..ตามสถานีต่างๆ.. ถ้ากลัวเสียเปรียบจีน..คงไม่ต้องมี กระทรวงพานิชย์..นะครับ.. เลิกครบจีนดีไหม..ครับ พลิกวิกฤติให้เป็น โอกาส ซิครับ..ผมพูดช้านิด เพราะชอบย้อนไปดู ที่ผ่านมา ครับ..ตอนนี้เป็นไง..กล้าคิด กล้าตัดสินใจ...ถ้าเรามีผู้นำที่มีหัวการค้าด้วย..พอไปได้...เฉพาะนักท่องเที่ยวจากจีนประเทศเดียวมาไทยก็มากมายแล้ว...ไหนค้าขาย..ความเจริญที่ตามมาอีก.. ไม่มีอะไรสมบูรณ์แบบ ร้อยเปอร์เซ็นต์..ครับ คิดได้..ดีเลิศแค่ไหน..ไม่ลงมือทำก็เท่านั้น.....อย่ากลัวเกินเหตุ.. ถ้าเรามีบุคคลากรที่ดี...ด้วยช่วยได้ครับ..มองต่าง..มุม แต่แง้..ความคิดขอบคุณ ครับ
ฟังแล้วเหนื่อยแทน ถ้ารัฐคิดว่าจะสร้างเพื่อหวังผลกำไรมหาศาลจากปปช.คือเจ้งตั้งแต่คิดแล้วคับแต่ถ้าคิดที่จะสร้างเพื่อความเจริญด้านคมนาคมพื้นฐานของปปช.ให้เป็นสวัสดิการจากภาครัฐเพิ่อความเจริญระยะยาวของประเทศอันนี้ค่อยสบายใจขึ้น เข้าใจคับว่าการลงทุนมันต้องเอาตัวเลขมาวัดผลกำไรแต่อย่าพึ่งด่วนตัดสินได้ไหมคับในอนาคต100ปี1000ปีข้างหน้าความเจริญมันต้องก้าวไปไม่หยุด กำไรมันต้องมีแน่นอนคับ อย่าคิดแค่วันนี้พรุงนี้
ดูหลายครั้งแล้ว เข้าใจคำว่า "อย่าคิดแค่ วันนี้พรุ่งนี้" ที่คุณเมนท์มาเลย.
โครงสร้างพื้นฐานมันต้องสอดคล้องกับระดับเศรษฐกิจ มีหนี้ได้แต่ถ้าเกินตัวหรือฟองสบู่ (ทำทั้ง ๆไม่ถึงเวลาเพื่อปั่นอสังหา) ชาติต่าง ๆ ก็ติดกับดักหนี้นั้นเอง
รัฐบาลชุดนี้เขาก็คิดแบบนี้แหละตอนนี้ลงมือสร้างคืบหน้าไปมากแล้ว
ทำรถไฟธรรมดาให้ดี คุ้มกว่าครับ
ก็เหมือนศรีลังกา ลาว นั่นแหละลงทุนสร้างท่าเรือ สร้างรถไฟ สร้างเขื่อน ก็หวังอนาคต แต่กว่าจะถึงตอนนั้น ถ้าไม่มีเงินหมุน ไม่มีรายได้มาทดแทน มันก็จะเสี่ยงล้มละลาย
ในความคิดเห็นของผม จีนหวังผลประโยชน์ระยะยาว การเดินทางของสินค้า ภายใต้ต้นทุนการขนส่ง
ใช่ครับ การทำในช่วงแรกมันขาดทุนชัวร์ๆ แต่ว่าในระยะยาวมันส่งเสริมหลายๆอย่าง เรื่องพวกนี้เลยไม่จำเป็นที่จะต้องได้กำไรเสมอไป แต่ว่าก็จะหารายได้จากทางอื่นให้เป็นด้วย และมีเงินหนา ถ้าไทยทำเรื่องนี้ได้ ทำเลย แต่ก็ควรหารายได้เข้าประเทศมากกว่านี้ ไม่ใช่รายได้หลักจากภาษีประชาชน
ขนาดเจ้าของโปรเจ็กต์ยังขาดทุน..ส่วนลาวคือตัวอย่างที่ดีเพราะโดนไปแล้ว
@@quantum.5145 ของลาวเป็นรัฐวิสาหกิจ รัฐบาลถือหุ้นไม่ถึง20%....
รายได้ขอรัฐก็มาจากภาษีเป็นปกติไม่ใช่เหรอครับ ถ้าจากเรื่องสาธารณูปโภคต่าง ๆ รัฐก็ไม่ค่อยได้กำไรอยู่แล้ว เพราะโครงการส่วนใหญ่เป็นโครงการระยะยาว กินทีละน้อย ๆ ไม่ได้เอากำไรมาก
จะให้รัฐไปทำแข่งเอกชนเหรอ จะเอารายได้มีทางไหนมั่ง สัมปทาน เก็บค่าธรรมเนียม... อย่างวีซ่าตอนนี้มีแต่ฟรีวีซ่า ภาษีvat10%ก็ประกาศใช้เป็น7%ทุกปี เงินเฟ้อมากควรจะขึ้นตัวนี้แหละไปขึ้นทำไมดอกเบี้ย
รัฐบาลเขาก็คิดแบบนั้นแหละ ตอนนี้กำลังสร้างรถไฟความเร็วสูง2สายสายอีสาน กับ สายตะวันออกประมาณปี2569. เปิดใช้บริการระหว่างรอใช้รถไฟความเร็วสูง รถไฟทางคู่ก็เสร็จเปิดใช้ก่อน. เพราะสร้างได้เร็วกว่า ลงทุนน้อยกว่าขนได้ทั้งคน และ สินค้าส่วนรถไฟความเร็วสูง เน้นขนส่งคน
เส้นทางในจีน กับ เส้นออกนอกประเทศ มันต่างกัน เส้นทางรถไฟในจีน เป็นหลายพันหลายหมื่นเส้นทางเพื่อประชาชนใช้ แต่เส้นทางรถไฟออกนอกประเทศ มีแต่เส้นทางรถไฟสายเดียวไปยุโรปเพื่อค้าขาย อีกเส้นทางสายเดียวถึงสิงคโปร์ เพื่อค้าขาย สายเดียวออกนอกประเทศแบบนี้ไม่ขาดทุนหรอก ที่มักขาดทุนคือสร้างทางรถไฟหลายสายทั่วในประเทศตัวเอง แต่ก็อนาคตถ้าคนย้ายไปอยู่เขตนั้นเยอะอาจไม่ขาดทุน
รถไฟความเร็วสูงของจีนถูกสร้างขึ้นด้วยพื้นฐานของลัทธิคอมมิวนิสต์ล้วนๆ ด้วยหลักการที่ว่า "ต้องให้บริการแก่ประชาชนทุกคนอย่างทั่วถึง" ทำให้จีนเป็นประเทศเดียวในโลกที่รถไฟความเร็วสูงมี "ตั๋วยืน" จำหน่ายในราคาถูกแสนถูก โดยที่นั่งชั้นปรกติราคาอาจเป็น 200-300 บาท แต่คนจนจะซื้อตั๋วยืนได้ในราคา 15-20 บาท และที่สำคัญที่สุดไม่ว่าจะไปตั๋วชั้นไหนแต่ทุกคนก็จะไปถึงจุดหมายปลายทางเท่าเทียมและพร้อมเพรียงกันตามหลักการคอมมิวนิสท์
จีนอยากสร้างรถไฟความเร็วสูงมาอาเซียน เขาคิดไว้แล้วว่าสร้างมาทางอาเซียนจะเอาเป็นช่องทางเอาของมาขายลองคิดกลับกัน ถ้าเรามีโครงการ สร้างรถไฟความเร็วสูงไปอินเดีย สินค้าเราที่คนอินเดียชื่นชอบเป็นทุนอยู่แล้ว จะส่งไปขายที่อินเดียปีนึงๆเท่าไร แล้วคนอินเดียก็ค่อยๆมีกำลังซื้อมากขึ้น ประชากรมากขึ้นน่าเอาของไปขาย มากกว่าเอาสินค้าไปขายที่จีนอีก
จะสร้างไปอินเดีย ก็ต้องสร้างผ่านพม่าไงตอนนี้พม่ามีปัญหาภายในประเทศ นี้คืออุปสรรค
@@fundeekongsuk7815 ถ้าจะเอาจริงๆ พม่าเอาด้วยอยู่แล้ว แต่เงินเราไม่พอ 5555555
@So Raan การสร้างรถไฟไปลาวเขามองข้ามช็อตไปถึงจีนต่างหาก ลาวแค่ผลพลอยได้ หากภาครัฐส่งเสริมการค้าการส่งอิกให้ดีๆ จีนมีเงินมีคนครับ อินเดียสู้ไม่ได้หรอกการเมืองการปกครองเศรษฐกิจต่างกันมากครับ ทั้งโลกตอนนี้มุ่งสู่จีนทั้งอำนาจและเศรษฐกิจ
เมกะโปรเจกต์ของอเมริกาในยุคบุกเบิกอย่างหนึ่งคือ ทางรถไฟจากภาคคะวันออกไปสู่ภาคตะวันตก แคลิฟอร์เนียจึงรุ่งเรื่องมากๆ จากโปรเจคนี้
ปัจจุบันก็ยังขนสินค้าอยู่
รถไฟทางคู่คุ้มค่าต่อการลงทุนที่สุด ขนได้ทั้งคนและทั้งของ และมีหลายสถานีเข้าถึงคนได้จำนวนมาก ส่วนรถไฟความเร็วสูงมีสถานนีน้อยคนเข้าถึงได้น้อย และ ราคาสูง
คุนหมายถึงศรีลังกาล้มสลายเพราะกฟุ้เงินจีนหรือครับ เราซื้อรถยนต์คันละล้านไว้ใช้ กำไรไหมคับ
คงต้องเพิ่มภาษีนำเข้า พืชผักผลไม้ (ถ้าไม่ติดสัญญาอะไร) และก็เน้นสนับสนุนการแปรรูป พืชผักผลไม้ ของไทยเอง
สัญญาทวิภาคีที่ทำกันไว้
ขอถามหน่อยครับว่า ราคาตั๋วรถไฟความเร็วสูง (สมมุติว่าไทยมี) กรุงเทพ-เชียงใหม่ ราคาเท่าไหร่ครับ / ราคาตั๋วเครื่องบิน กรุงเทพ-เชียงใหม่ เท่าไหร่ครับ / รถไฟความเร็วสูง ใช้เวลาเดินทางกี่ชั่วโมงครับ - เครื่องบิน ใช้เวลาเดินทางกี่ชั่วโมงครับ? ซึ่งความคิดส่วนตัวผม ผมเลือกใช้บริการเครื่องบินครับ หรือจะเดินทางไปเที่ยว ลาว เดินทางไปเที่ยว จีน ยังไงผมก็เลือกใช้บริการของเครื่องบินอยู่ดีครับ. ในความคิดของผม รถไฟความเร็วสูงที่กำลังสร้างกันอยู่นี่ จีนได้ประโยชน์มากที่สุด โดย สินค้าจีนจะหลั่งไหลมาเป็นจำนวนมหาศาล (สินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ) ส่วนตัวแล้ว อยากให้จีนลงทุนสร้างทางรถไฟความเร็วสูงเองจะดีกว่า โดยไทยจะเก็บค่าเช่าในการใช้พื้นที่จะดีกว่า
ผลประโยชน์ทางอ้อมมันมหาศาลมากครับ เช่นจะการพัฒนารอบๆสถานีอีกมากมาย การก่อสร้างจะตามมาอีกไม่รู้เท่าไหร่ นั่นจะทำให้ภาคการผลิตวัสดุก่อสร้างขยายตัวเกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็นวงกว้าง ไหนจะภาคท่องเที่ยวอีกล่ะ โรงแรม ร้านอาหาร ที่อยู่อาศัย ที่แน่ๆคือ การกระจายความเจริญออกสู่ภูมิภาค ตรงนี้คำนวณเป็นเม็ดเงินไม่ได้แน่ เพราะมันเหลือคณานับโครงการแบบนี้จะมาคิดแค่ค่าตั๋วโดยสารไม่ได้หรอกครับอ้อ.. เห็นๆเลยคือมูลค่าของที่ดินจะเพิ่มขึ้นเห็นๆครับ
สินค้าจีนจะทะลักเข้าในไทยมากอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน...ซึ่งปกติก็ไทยก็เสียดุลย์การค้าจีนมากอยู่แล้ว แลกกับทัวร์ 0 เหรียญ แบบแอบๆ ...สรุปคือได้นักท่องเที่ยวเล็กน้อยๆ ถ้าเทียบสัดส่วนกับมูลค่าสินค้าที่ทะลักเข้ามา จากขาดดุลย์แสนล้าน จะกลายเป็นล้านล้านบาท/ปี แล้วคอยดูละกัน ใครคิดเศรษฐกิจดีขึ้น ลองไปถาม เกษตรกร/SME/สินค้าจีนทุ่มตลาดตายกันหมด เพราะคนไทยปรับตัวไม่ทัน ภาครัฐไม่เข้มแข็ง.....จบเห่
จริงครับ 👍 เห็นด้วยอย่างแรง
จริงครับ ปิดประเทศไปเลย คนในห้ามออกคนนอกห้ามเข้า เด่วนี้ฝรั่งมาล่อสาวไทย ติดฝิกดาบลิงแล้ว ไม่รู้จะติดเยอะเท่าไรอิก
พึ่งกลับจากเที่ยวลาว ตอนนี้จีนกำลังทำตลาดจีนในลาว กำลังก่อสร้าง เขตใกล้ข้ามมาไทย ที่นองคาย เป้าหมายลูกค้าน่าจะเป็นคนไทย
หากคำนวนแล้วขาดทุน จะปล่อยให้เป็นอนุเสาวรีย์หรือครับ ผมเห็นควรตัองทำต่อให้คนเราใช้ หากไม่ทำ เราก็ยังใชรถยนต์มากเช่นเดิม
ผมเคยออกความเห็นเรื่องการฟังจับใจความยาก คลิปนี้ดีขึ้นครับมีข้อเสนอแนะ อีกอย่างครับถ้าทำซับ น่าจะเพิ่มการสื่อสารความเข้าใจได้มากขึ้น (ผมก็ไม่แน่ใจนะว่าใช้คำถูกรึเปล่า บางเจ้าเค้าไม่ได้ลอกจากคำพูดเป๊ะๆ แต่มันดูดี และเข้าใจมากขึ้น เช่นพวกรายการของเวิร์คพอยท์ (เดอะวอล))
ขนส่งสาธารณะถ้าคิดถึงกำไรขาดทุนที่เป็นเม็ดเงินคงไม่ต้องทำเพราะอย่างไรก็ไม่มีกำไร ถ้าจะมีหรือจุดคุ้มทุนคงใช้เวลา 30-40 ปีครับ
泰国建高铁肯定是值得的,你们是旅游大国,高铁方便了游客出行,减少了出行时间,可以有更多的时间欣赏美景;高铁运行亏损是必然的,它服务了老百姓,但其带动了周边产业的发展,政府以这方面的税收补贴高铁亏损;
ผมชอบตั๋วยืนของรถไฟความเร็วสูงของประเทศจีนมากครับ ช่วยประหยัดค่าเดินทางได้มาก เพราะรถไฟความเร็วสูงระดับ 300-350 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ขึ้นไปยืนชมวิวสองข้างทางแป๊บเดียวก็ถึงที่หมายแล้วอยากให้รถไฟความเร็วสูงของไทยมีตั๋วยืนแบบนี้บ้างครับ
แต่คนไทยจำนวนมากไม่ค่อยเห็นด้วยที่จะทำ
@@cnservice4322 ในชั่วโมงเร่งด่วน รถไฟฟ้า BTS ก็ทำตั๋วยืนสองโบกี้ทุกขบวนครับ 🤭🤭
ถ้าอยากได้ความเร็วสูงจริงๆ ต้องหาเส้นทางที่โค้งน้อย และที่สำคัญคือต้องระวังพวกหัวขโมยชอบถอดหมุดรางรถไฟ ส่วนตัวชอบโครงการที่ซาอุจะสร้างเมืองใหม่ วางรถไฟไว้ใต้ดิน รางรถไฟก็เป็นเส้นตรง เพื่อให้รถไฟวิ่งได้เต็มสปีด
ถ้าเชื่อมรถไฟความเร็วสูงไปถึงหนองคาย ติดใกล้ๆกับรถไฟความเร็วสูง(ลาว)จีนส่วนตัวผมมองว่า สินค้าจากจีนจะทะลักเข้ามา ทำตลาดค้าผักและผลไม้สดแถวทางภาคอีสานพังนะ เพราะพวกเขาจะขายได้ราคาถูกกว่า พ่อค้าแม่ค้าท้องถิ่น ถึงว่าสิ คนจีนหนุ่มสาวบางส่วนถึงเรียนภาษาไทย คิดว่าคงเพราะ ต้องการเข้ามาค้าขายสินค้าราคาถูกด้วยตนเอง โดยไม่ผ่านนายหน้าในไทย พ่อค้าแม่ค้าในไทย เตรียมรับมือ ส่วนผู้บริโภค อาจจะได้ซื้อของถูกลง แต่คุณภาพดีหรือเปล่า อันนี้คงต้องรอดูอีกทีหนึ่ง
คนลาว มีงานทำเยอะขึ้นน่ะครับ หลังรถไฟมา
เห็นได้ยินว่า รถไฟฟ้าความเร็วสูง เกือบทั้งหมดขาดทุนแม้แต่ญี่ปุ่นที่เป็นเจ้าของรถไฟฟ้าความเร็วสูงแห่งแรกของโลก เว้น อิตาลี ที่ทางซีพี เชิญมาน่าจะเป็นที่ปรึกษาค่ะ แต่จะต้องใช้การพัฒนาที่ดินควบคู่ไปด้วยถึงจะมีกำไรค่ะและแน่นอนค่ะ ของฟรี ไม่มีในโลก แต่ไทยยังโชคดีนะคะ ที่รัชกาลที่ 5 ทรงจัดหาที่ดินให้การรถไฟไว้แล้ว เอาจริง ทางรถไฟไปทั่วนี่มาก่อนถนนอีกค่ะ เพียงแต่ ถนนที่มาทีหลังมาแรงและเร็วกว่า การสร้างถนนเอาจริง ทำให้ราคาที่ดินข้างทางคือ พุ่งขึ้นทันทีทั้งเส้น แต่ทางรถไฟ จะดีแต่แค่ตรงสถานีเท่านั้น สายทาง ไม่มีผลอะไรใด ๆ ฝ่ายการเมืองเลยไม่ค่อยชอบค่ะ (ซึ่งมองในแง่ดี ถนนไปถึงไหน หัวไร่ปลายนาก็สามารถขนสินค้าขึ้นถนนได้เลย)
อย่ามองทุกอย่างเป็นแต่ธุรกิจเสียทั้งหมด อยากให้มองว่ามันคือ สาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐานที่ควรพึงมี ระบบรถราง รถไฟไทย ถือว่าพัฒนาช้ามาก รัฐควรต้องเร่งสร้างให้เสร็จโดยเร็ว
ขอบคุณสำหรับความรู้เพิ่มเติมค่ะ นายกไทยขาดการประชาสัมพันธ์ ควรบอกให้ประชาชนทราบด้วยค่ะ
การทำระบบคมนาคมมันต้องดูมูลค่ารวมทางเศรษฐกิจ เป็นการหนุนกิจกรรมอื่นๆ การท่องเทียว การพัฒนาที่ดินบริเวณใกล้เคียง ฯลฯ ถ้าจะทำแล้วได้กำไรเป็นไปได้ยาก อย่างรถไฟสายเหนือ ญี่ปุ่นจะใช้ระบบซินคันเซนที่ใช้ในญี่ปุ่นแต่ในญี่ปุ่นเมืองแต่ละเมืองจะใหญ่มากหรือนักท่องเที่ยวเยอะ จะคุ้มในแย่เศรษฐกิจและค่าโดยสารจากนักท่องเที่ยว... แต่ไทยจะเป็นในแง่การพัฒนาพื้นที่รอบๆ เป็นคนละแบบกับญี่ปุ่น เลยศึกษากันหลายปียังไม่ได้สร้างสักที เพราะเป็นการที่ให้ญี่ปุ่นร่วมลงทุน....เป็นต้น
คุณ Kim sharp มากค่ะขอบคุณที่รัก เมืองไทย ไม่ เห็นแก่ตัว เก่งรอบด้านเลยค่ะ
เอ แล้วโครงสร้างพื้นฐานกิจการรถไฟที่มีอยู่ทั่วทุกมุมโลกนี้มีประเทศใดเขาสร้างขึ้นมามุ่งหวังกำไรบ้าง ถ้าไม่ใช่เพื่อให้คนในประเทศได้ใช้บริการติดต่อถึงกันได้ทำธุระกิจ,ส่งสินค้าทำมาหากิน และเปนการกระจายความเจริญให้ขยายตัวออกไปไม่กระจุกตัวเฉพาะในเขตเมืองที่มีการขนส่งดีอยู่แล้ว และยังช่วยให้เกิดการพัฒนาพท.ดินสองทั้งฝั่งตามไปด้วย กิจการรถไฟอย่างนี้จึงต้องมีให้ทั่วถึงเพราะได้เปรียบในเรื่องการขนส่งขนคนขนสินค้าได้มากกว่ารถยนต์ในพท.เท่าๆกัน และการลงทุนมหาศาลจากรัฐแบบนี้ยังเปนตัวช่วยฉุดให้เศรษฐกิจของประเทศด้วยรวมดีขึ้นด้วยการจ้างงานครั้งมโหฬาร เปนการอัดฉีดเงินไปกระตุ้นโดยตรงและโครงสร้างพื้นฐานเช่นนี้ก็คงอยู่ใช้งานไปได้นับร้อยปีขึ้นไป ยิ่งเชื่อต่อกับต่างชาติเปนโครงข่ายนานาชาติก็จะยิ่งทำให้ขนสินค้าในประเทศเปนไปได้อย่างรวดเร็วและราคาถูกลงอีกด้วย แม้แต่บีทีเอสที่ลงทุนเองทั้งหมดเพราะรัฐบาลไม่สนใจเกือบถึงขั้นล้มละลาย เพิ่งจะลืมตาอ้าปากและทำให้รัฐบาลตระหนักได้ว่าสมควรมีจริงๆและจำเปนทั้งในวันนี้และเพื่อลูกหลานในวันหน้าอีกด้วย
ญี่ปุ่นทำได้นะคะ? (แต่ขาดทุนไหม?ไม่รู้เหมือนกันคะ)
จีนเส้นทางรถไฟ ออกนอกประ สร้างเส้นเดียว ไปยุโรป เพื่อค้าขายไม่ขาดทุนหรอก มาอาเซียน ก็สร้างเส้นเดียว ประเทศละ1เส้นทางเพื่อค้าขายไม่ขาดทุน(ที่มักขาดทุนคือเส้นทางรถไฟในประเทศ จีนสร้างหลายเส้นหลายสายเป็นพันเส้นหมื่นเส้นทั่วในประเทศ เพื่อประชาชนใช้ บางเส้นทางสู่ชนบท คนอาศัยน้อยอาจขาดทุน แต่อนาคต คนเข้าไปอยู่เยอะ จะไม่ขาดทุน ตอนนี้กำลังไปตั้งโรงงานแถวชนบท เพื่อคนไปอยู่เยอะ รถไฟจะไม่ขาดทุน
คือถ้าคิดจะหากำไรจากการเดินรถ ก็เป็นการคิดแบบ “การรถไฟแห่งประเทศไทย” หรือ รฟทของญี่ปุ่น บริษัทรถไฟ เค้าจะพัฒนาพื้นที่รอบๆ สถานี สร้าง โรงแรม ห้างสรรพสินค้า เพื่อหารายได้ รถไฟคือ พาหนะนำคน และ ความเจริญเข้าสู่พื้นที่ อันนี้คือ จุดมุ่งหมายของ รถไฟความเร็วสูง กำไรจากการเดินรถมันไม่มีอยู่แล้ว ไม่ว่าประเทศไหน
ญี่ปุ่นใช้เวลา 50 ปีเต็มกว่ารถไฟชินกันเซ็นถึงจะถึงจุดคุ้มทุน หมายความว่าบริษัท Japan Railway (JR) ต้องแบกรับภาระขาดทุนถึง 50 ปี โดยรัฐบาลญี่ปุ่นsupportให้ (รายได้หลักมาจากค่าโดยสาร 70% ส่วนอีก 30% มาจากรายได้อื่นเช่นค่าพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ค่าเช่าที่ ค่าโฆษณา) โครงการรถไฟความเร็วสูงขาดทุนแน่ปัญหาคือขาดทุนมากแค่ไหน รัฐบาลจะอุ้มไหวไหมและอุ้มได้นานเท่าไหร่
หากจะคิดแค่ 3-40 ปี ไม่มีกำไรแน่นอน แต่ต้องมองระยะยาว มันคือการคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ เพราะว่ามันคือโครงส้างด้านคมนาคมขนส่ง ช่วยให้การเดีนทางสดวกสบายรวดเร็ว ช่วยให้ต้นทุนการขนส่งถูกลงและรวดเร็ว ช่วยดืงดูดการลงทุนของต่างชาติ และอีกหลายๆจะตามมา ให้ดูประเทศญี่ปุ่นและจีนเป็นตัวอย่างรถไฟฟ้าช่วยให้เศรษฐกิจเจริญเตีบโต
ทั้งจีน ทั้งญี่ปุ่นที่เป็นเจ้าของเทคโนโลยียังขาดทุนเลย แต่ที่เขาอยู่ได้เพราะใช้วิธีให้รัฐอุดหนุนดังนั้น จีนกับญี่ปุ่นจึงมุ่งเน้นขายเทคโนโลยี กับรับจ้างผลิตแทน รวมถึงคอยขายอะไหล่ให้ประเทศต่างๆ
อยากทราบก่อนจะได้สร้าง ใครสนับสนุน ใครค้านหรือใครเป็นกลาง ถึงได้สร้างมาค่ะ
จีนคุ้มสุด ดอกเบี้ย ค่าเดินรถ ส่งของออกมาขาย เราส่งสินค้าเกษตรไปยังติดนั่นนี่
รถไฟความเร็วสูง มันไม่ได้มาแข่งกับเครื่องบิน ถ้า 700-800 กมขึ้นไป เดินทางโดยเครื่องบิน แต่ระดับ 600 กม ลงมาใช้รถไฟความเร็วสูง แทนรถยนต์ส่วนตัวรถโดยสาร เข่น นครสวรรค์ พิษณุโลก ลำปาง /สายอีสาน นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี เป็นต้น ไม่ใช่เจริญแค่เมืองเดียวที่เครื่องบินลง ถึงสถานีมีน้อยหรือไม่จอดทุกจังหวัด แต่ทุกสถานีก็มีทางคู่ รับช่วงผู้โดยสารเดินทางต่อ เปรียบเทียบ 600-800 กม เครื่องบิน 200-600 กม รถไฟความเร็วสูง 0-200 กม รถยนต์ เป็นระยะทางที่เหมาะสม /สำหรับทางคู่สามารถ ขนส่งสินค้าเข้าใกล้จุดแล้วต่อด้วยรถบรรทุกEV ไม่จำเป็นต้องใช้แบตารี่ใหญ่ เพราะวิ่งในระยะทางสั้นๆ การนำเข้าน้ำมันเพื่อการขนส่งก็น้อยลง
ญี่ปุ่นเขาก็ขาดทุนเรื่องค่าโดยสารแต่สิ่งที่รัฐบาลได้คือ เมืองพัฒนา กระจายความเจริญ นักลงทุนอสังหาริมทรัพย์มาลงทุนตามแนวรถไฟ สร้างงานตามแนวรถไฟ รัฐบาลเก็บภาษีได้มากขึ้น
จากการคำนวณด้วย Ai โดยใช้ข้อมูลทั้งหมดทั้งมวลและปัญหาต่างๆรอบด้าน คำตอบที่ Ai ประมวลผล คือ -. คุ้มค่าอย่างมหาศาล ถ้าสร้างเสร็จเต็มระบบ 100% (เส้นทางทุกเส้น ทุกประเทศ เชื่อมโยงทุกสาย ตามที่ออกแบบไว้) -. ตราบใดที่ยังสร้างไม่เสร็จเต็มระบบที่ได้ออกแบบไว้ ย่อมขาดทุนอยู่ตลอดเวลา การขาดทุนจะน้อยลงอยู่ที่การสร้างกี่ %. ยิ่งสร้างเสร็จมากเท่าไหร่ยิ่งขาดทุนน้อยเท่านั้น และ ถ้าสร้างเสร็จตั้งแต่ 70% การขาดทุนเป็นศูนย์ทันที (30%ที่ยังสร้างไม่เสร็จ หมายถึงประเทศที่ยังสร้างไม่เสร็จ และ ยังไม่เชื่อมต่อกัน) สรุป. ถ้าระบบเส้นทางสายไหม สร้างเสร็จสมบูรณ์ เชื่อมโยงกันครบวงจร ทุกประเทศที่ช่วยกันสร้าง คุ้มค่าและได้ประโยชน์กันทุกประเทศที่ร่วมกันทำ ประโยชน์ที่สุดยอดที่สุดคือ “มีรายได้ที่มั่นคงถาวร”
เวลาเป็นหนี้จีน โวยวาย เป็นหนี้ ยุโรป ตบมือรัวๆ
คุณดูเงื่อนไขการกู้ด้วยหรือเปล่า หรืออะไรเป็นเงินก็เอาหมด
สายสีเขียว เรียกว่า กับดักฯ ได้หรือเปล่า?
อินเดียอยู่ๆข้างๆกันค้าขายกันมหาสารยังไม่ยอมให้รถไฟความเร็วสูงผ่านเลย ไทยทำรถไฟก็ได้แต่ขอพ่วง FTAสินค้าไทยไปจีนด้วยซัก20-30รายการระยะเวลาซัก20ปีได้ไหม?
ตอนนี้เราลงทุนทางคู่สายใหม่แล้ว เดนชัยเชียงรายเชียงของ 326 กม กับขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด มุกดาหาร นคร พนม 355 กม เป็นตัวอย่าง หนังฉายการลงทุนรระบบ รางที่ใหญ่ที่สุดรองจาก รถไฟความเร็วสูงของไทย เลย 55555 ผมว่า การเคลื่อนที่สินค้า กับ ผดส สําคัญ มากๆ และอาจดีกว่ารถไฟลาวจีนที่เป็นทางเดี่ยวเท่านั้นเอง
ทางเดี่ยว แต่ไฮสปีด ทำให้มันใช้เวลาบนรางน้อย ใช้รางได้คุ้มไง
@@alexlo7708 1.ไฮสปีดเทรน ไม่มีใครทำรางเดี่ยว2.ลาวไม่ใช่ไฮสปีดเทรน
@@alexlo7708 โครงการรถไฟความเร็วสูงของไทยเป็นแบบรางคู่
ถามหน่อย สิ้นค้าจีนเข้าไทยได้ สิ้นค้าไทยเข้าจีนไม่ได้ แม่ค้า เกรษกร ตายเลยขายของไม่ได้ แล้วจะแก้ปัญหายังไง
ไม่ได้ทำเพื่อเอากำไร ทำเพื่อประชาชนครับ การรถไฟแห่งประเทศไทยก็ขาดทุนมาทุกปี ท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยก็เหมือนกัน ขนส่งมวลชนกรุงเทพฯก็เหมือนกัน
เพื่อเป็นการพัฒนาประเทศ เราต้องก้าวให้ทันโลกครับ อย่ามัวคิดเรื่องกำไรขาดทุน มองดูในอนาคตครับ ประชาชนได้ประโยชน์ แรกๆอาจจะยังไม่ได้ พอถึงเวลาตรงนั้น อาจจะเป็นผลกำไรกลับคืนมา
ขาดทุคือกำไรคุณพูดเอวในคลิปว่า :รถไฟขาด ทุน แต่ อย่างสร้างโอกาสให้อย่างอื่นมีโอกาสเจริญ และ ทำกำไรได้ เช่น อสังหา ฯลฯ
หากกู้มาแล้ว มีการบริหารเงินได้ ก็"ไม่ติดกับดักหนี้" แต่หากกู้มาแล้วเจอสถานการณ์ เช่น มีการปั่นค่าเงิน นั่นแหละคือติดกับดักหนี้ เพื่อเอากำไรในค่าของเงิน ซึ่งไม่เกียวกับการลงทุนในธุรกิจนั้น การบริหารค่าเงิน มีความสำคัญมาก ในธุรกิจการค้าระหว่างประเทศประเทศที่่อ่อนในเรืองนี้ อย่างไทยในปี 2540 ถูกโจมตีค่าเงิน ทำให้ไทยต้องติดกับดักหนี้ ไม่ต่างจากที่ ศรีลังกา หรือ ลาวเจออย่าลืมว่า กับดักหนี้เกิดมาจาก การผูกค่าเงินกับทุนสำรองเงินดอลลาร์ ทำให้เห็นว่า #เงินดอลลาร์นั้นแหละที่สร้างกับดักหนี้😔
นี่คุณน้องการลงทุนต้องใช้เวลาคะ ไม่ใช่เปิดทำการแล้วจะได้กำไรเลยคะ และต้องมีการวางระบบป้องกันการโกงกินของข้าราชการให้ดีด้วยไม่งั้นจะขาดทุน เรื่องการวางระบบบัญชีด้านการเงินสำคัญมาก เพราะถ้าวางระบบดีโอกาสโกงกินยาก แต่ถ้าวางระบบหลวมจะเปิดโอกาสให้ข้าราชการทุจริตได้ เพราะฉะนั้นมีหลายปัจจัย จีนคงต้องค่อยๆศึกษา ไทยทำโครงการรถไฟความเร็วสูงเพื่อการส่งออกคะ ควบคุมบัญชีการเงินดีๆ ไม่ขาดทุนหรอก จริงๆแล้วรัฐบาลน่าจะมีการจ้างผู้ตรวจสอบบัญชีมาวางระบบนะคะ เวลาเปิดทำการรถไฟความเร็วสูง เพื่อป้องกันการทุจริต555
ถามหน่อยเครื่องบินอุ้มแพงๆ คนไทยแทบไม่ได้นั่ง ขาดทุนมหาศาล ทำไมยังลงทุนอยู่ แต่รถไฟคนไทยไม่ว่าดีมีจนก็ได้ใช้ ขาดทุนแต่ละปีมันจะสักเท่าไหร่
รถไฟฟ้าความเร็วสูงมีประโยชน์แน่นอน เพราะสามารถกระจายทั้งคนและทั้งสินค้าไปทุกภูมิภาค ทำให้เกิดการการพัฒนาเศรษฐกิจอยู่หลายประการ1. สังคมไทยเข้าสู่ สังคมสูงวัยเราต้องพึ่งแรงงานจากลาวบางส่วนในนาคต2. GDP ภาคอีสานอยู่ในอันดับ2ของประเทศรองจากภาตะวันออก ถ้าไม่นับรวมกรุงเทพ และประชากรเยอะ3. พื้นที่เยอะแถมเป็นพื้นที่ราบ สามารถลุงทุนและทำโครงการใหญ่ๆได้เหตุผลเหล่านี้ส่งผลต่ออุปทานในการลงทุนอสังหาเพิ่มมากขึ้น และจะมีการจ้างงานมากขึ้น รวมไปถึงการท่องเที่ยวทางโซนอีสานจะเพิ่มมากขึ้น
เรื่อง รฟส มันเป็นการบริหารกึ๋นครับว่าใครเก็บเกี่ยวได้มากที่สุด การสร้าง รฟส นั้นต้องมีการบริหารทั้งด้านพื้นที่ข้างราง ในสถานีจนกระทั้งบนอากาศ ให้ดูญี่ปุ่นเป็นตัวอย่างครับ แต่ถ้าอัดเม็ดเงินอย่างเดียวเหมือนที่ลาวทำมีแต่เจ๊งอย่างเดียวไม่ใช่ขาดทุน ลาวไม่มีโครงสร้างพื้นฐานหลายอย่างรองรับ เป็นได้แค่ทางผ่าน
มีรถไฟฟ้า หรือ รถไฟความเร็วสูง การนำเข้าน้ำมันลดลง การส่งออกสินค้าเกษตรทางรางไปทางยุโรปผ่านจีนทำได้เร็วขึ้นกว่าทางเรือ และประหยัดขึ้น ฯ
ถ้ามองแค่ได้กำไรหรือขาดทุน มันคงจะเป็นอุปสรรค ต่อการพัฒนาถ้ามองยาวๆใช้ได้ชั่วโคตรถึงลูกถึงหลานมันดีแน่ อยู่ที่ว่าการบริหารจัดการมันต้องเป็นมืออาชีพ
ทำรถไฟมันขาดทุนอยู่แล้วแต่ที่จะได้กำไรคือการพัฒนาสองข้างทางรถไฟเป็นอสังหา
มันดึงดูดนักลงทุนส่วนหนึ่ง ถ้าเราไม่มี แต่คนอื่นมีเขาก็ไปลงทุนที่อื่น
ต้องติดตามต่อไป เพราะอะไรก็เกิดขึ้นได้ครับ
ไม่มีใครเก่ง ไม่มีใครอ่อนหรอก ไทยก็เก่งอย่างหนึ่ง จีนก็เก่งอย่างหนึ่ง จะมีใครเก่งได้ทุกอย่างกัน อย่าไปกลัวการเปลี่ยนแปลง ยอมรับ และปรับตัวซะ
+1
อย่าประมาท ดูสีหนุวิลลล์เป็นตัวอย่าง จีนมาแบบฝูงเอเลี่ยนน แล้วจากไปแบบซากปรักหักพังพินาศ
ระยะยาวคุ้มแน่นอน ต้องมองการณ์ไกลครับผม จีนขาดทุนเพราะสร้างเยอะไปใช้ทุนมหาศาลงทุนต่างประเทศด้วย
ประเทศที่เติบโตได้ ต้องเจออุปสรรคครับ ไทยมีการท่องเที่ยวที่ดีเอามากๆ รถไฟความเร็วสูง อาจจะไม่ขาดทุน และอาจจะกำไรมาก
น่าสน ติดดูแล้วมันน่าคุ้มนะ ไทยเราทำรถไฟแค่สุดเขตเราทุกภาคเชื่อมต่อกันหมดในประเทศ ไทยเรามีสถานที่ตั้งดี เพราะมีเขตแดนติดต่อเพื่อนบ้านหลายประเทศ ใครมาจากลาว เขมร พม่า เวียตนาม จีน จะไปมาเลย์ก็ผ่านไทย ..มาเลย์ อินโด ฟิลิปปินส์..ฯลฯ จะไปลาว เขมร ไปจีนก็ต้องผ่านไทยไปมากันอีกนั่นแหละ ..ไทยเราส่งแค่ชายแดน ที่เหลือก็ต่อรถไฟจากปท.เพื่อนบ้านไปกันเองก็แล้วกัน ..นี่กำลังคิดว่าถ้ามีรถไฟจริงก็น่าจะได้ขนคนมากกว่าขนสินค้าเสียอีกค่ะ
ทำรถไฟความเร็วสูงสาย สะเดา-แม่สาย ดีกว่าไหม?
จีนสร้างรถไฟความเร็วสูง เขาทำแล้วขาดทุนเพราะสร้างทางรถไฟให้ครอบคลุมทั่วประเทศ แล้วก็คงจะกะให้มีระยะทางรวมยาวที่สุดในโลกแบบอีกนานกว่าจะมีคนทำลายได้ ก็เล่นสร้างทางรถไปความเร็วสูงยาวหลายหมื่นกม.ในระยะแรกอาจจะขาดทุน แต่เนื่องจากมีประชากรเยอะที่สุดในโลก ระยะยาวคุ้มค่าแน่นอน ส่วนไทยเพิ่งเริ่มจึงสร้างเน้นจังหวัดสำคัญๆก่อน ระยะยาวก็ต้องขยายเส้นทางมากขื้น และเชื่อว่าจะคุ้มค่าแน่นอนครับ
มันคือการคมนาคมขนส่งจากรัฐ อย่าสนใจกำไร ขาดทุน
ความเห็นผมนะ สายสามสนามบินอาจจะคุ้มแต่สายอึ่นนั้นอย่าคิดเลย แค่รถไฟทางคู่ก็น่าจะพอ ญี่ปุ่นทำได้เพราะรายได้ต่อหัวสูง อย่างนั่งชินกันเซ็นมาทำงานที่โตเกียวนะทำได้ ส่วนไทยรถไฟฟ้าธรรมดาค่าโดยสารยังแพงมากเกือบทุกสาย
ถ้ามั่วแต่คำนึงถึงกับดักหนี้สิน อย่างงุ่นง่าน ก็จะไม่ต้องคิดทำหรือสร้างสรรค์อะไรกันแล้ว แต่โดยแท้จริงแล้ว ประเทศไทยสามารถลงทุนสร้างเองได้โดยไม่ต้องพึ่งเงินกู้จากต่างชาติ โครงการรถไฟความเร็วสูง ช่วยกันมองด้านบวกเถิด - ชาวไทยได้เรียนรู้เทคโนโลยี่ใหม่ๆรอบด้าน ถ้าไม่สร้างธุระกิจใหม่ๆแล้วจะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้อย่างไร - การสร้างงานให้ประชากรไทยมีงานทำ คือหัวใจของการพัฒนาประเทศ - ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับรถไฟฟ้าความเร็วสูงและพัฒนาสู่นโยบาย 4.0 พึ่งตนเองได้และต่อยอดผลิตเพื่อการส่งออก - ช่วยส่งเสริมสนับสนุน การท่องเที่ยวประเทศไทยให้เจริญก้าวหน้าเป็นหน้าตาของประเทศศิวิไลย์ - สนับสนุนการเป็น Hub ด้าน Logistics ของภูมิภาคอาเชี่ยน - ประมวลแล้วโครงการรถไฟฟ้าความเร็วสูงสามารถสร้างกำไรให้กับประเทศคุ้มค่ากับการลงทุน ทั้งที่เห็นเป็นตัวเงินและไม่เห็นเป็นตัวเงิน
Jr ญี่ปุ่น ยังขาดทุนเละเทะ กว่าจะกำไรแบบนี้ เราจะอึดแบบนั้นได้มั้ย ขาดทุน70ปี
แล้วแต่ประเทศด้วย ประเทศที่อีกหน่อยเป็นhubการท่องเที่ยวอย่างประเทศไทยจะดึงดูดจำนวนคนให้เพิ่มมากขึ้นเอง ถ้าเทียบกันแล้ว ลักษณะภูมิประเทศแบบไทยไม่เล็กไม่ใหญ่ไปและโครงข่ายที่เรียกได้ว่าขนาดใหญ่คลอบคลุมมีแต่ที่เดียวในโลก ใหญ่ไปแบบจีนสหรัฐก็ไม่ค่อยเชื่อมกับใครได้และครอบคลุมน้อย เล็กไปแบบสิงค์โปรถึงครอบคลุมแต่ก็ไม่หลากหลาย โครงข่ายเรามีทั้งพม่าลาวมาเลเซียเวียดนามสิงค์โปรจีนและสามารถเชื่อมไปยังมองโกลเลียรัสเซียยุโรปเกิดเป็นเส้นทางการท่องเที่ยวใหม่ที่มีไทยอยู่ท่ามกลางความสดใหม่ของแหล่งท่องเที่ยวที่ยังมีอนาคตได้อีกไกล เราเองก็ควรทำจุดเด่นทางแหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้นให้มากกว่านี้เช่น สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม เราถึงจะได้ใช้โครงสร้างพื้นฐานของเราอย่างเต็มที่ ถ้าจะวัดรายได้ของระบบรถไฟความเร็วสูงมันอาจจะดูไม่คุ้มแต่ถ้ารายได้ทางอ้อมที่จะได้นั้นคุ้มยิ่งกว่าคุ้ม
ระยะเวลา เชียงใหม่-กรุงเทพ เครื่องบิน 1 ชม. รถไฟความเร็วสูง 3 ชม. ราคาตั๋ว น่าจะพอๆกัน ผมว่าคนไทยส่วนใหญ่น่าจะใช้เครื่องบินมากกว่า
รถไฟ ไฟฟ้า จุคนได้มากกว่า หลายเท่า
สำหรับไทย เรา ทำรางคู่ได้ ก็ถือว่าคุ้มและเหมาะที่สุดแล้ว
สำหรับความคิดส่วนตัวผมเราวางตัวกับจีนแบบนี้ดีแล้วครับ
ราคา ตั๋วรถไฟที่จีน ถูกที่สุดในโลก เส้นทางรถไฟ หลายสาย หลายพันหลายหมื่นเส้นทางทั่วประเทศ เยอะแยะไปหมด เขาสร้างทางรถไฟ เพื่อประชาชนเดินทางสะดวก ไปถึงทุกแจทุกมุม ทุกเขตชนบท ไปมาง่าย สร้างทางรถไฟดีๆไว้ก่อน(กำไรยังไม่อยากคิดตอนนี้)เพื่อให้คนในเมืองทยอใช้รถไฟไปอาศัยอยู่ชนบทที่มีโรงงาน ในเมืองแออัด และเพื่ออนาคตของประชาชนใช้ทางรถไฟไปมาหาสู่ให้สะดวกสบายไว้ก่อน
สาธารณูปโภค จะใช้ทดแทนคำว่าขาดทุน คุ้มหรือไม่ ขอให้ผู้รับเหมามีงานก็แล้วกันครับ
ถ้าพูดถึงเอาแค่สร้างเสร็จแล้วปล่อยให้เศรษฐกิจเติบโตแบบไร้ทิศทางเองก็น่าจะใช้เวลาราว30ปีถึงคุ้ม ขึ้นกับปริมาณคนใช้ด้วยถ้าน้อยกว่าคาดมากๆเวลาความคุ้มก็ยืดออกไปอีกเช่นถึง50ปี ปัญหาใหญ่คือโลจิสติคส์ไทยเสียเปรียบต้นทุนสูงต้นๆของโลก ถ้าสร้างเสร็จแล้วต้อวมีเพิ่มความรับผิดชอบในการผลักดันการใช้งานเยอะๆด้วยมันน่าจะเห็นอนาคตดีกว่าไม่ใช่แค่สร้างเสร็จแล้วก็ทิ้ง...
เราต้องคอยดูไปก่อนสิค้ะรถไฟรางคู่.ถ้าเสร็จเมื่อจ่ะขึ้นค่ะ
อะไรกัน คนแน่นทุกขบวน....ช่วงสร้างใหม่ๆ ก็ขาดทุนเป็นธรรมดา กำไรจะมาหลังจาก 5 ปี ไปแล้วนะ......
พูดกันตรงๆ โครงการนี้แม้จะเป็นประโยชน์ต่อไทยและภูมิภาค ทั้งในการขนส่งสินค้าและการท่องเที่ยว แต่เอาเข้าจริงๆ แล้วชาติที่ได้ประโยชน์มากที่สุดก็คือจีนนั่นแหละ เพราะช่วยให้จีนใช้ประเทศไทยเป็นทางออกไปสู่มหาสมุทรอินเดียและผ่านไปทางอ่าวไทยได้รวดเร็วขึ้น และช่วยลดต้นทุนให้กับจีนอย่างมหาศาล
การสร้างทางรถไฟความเร็วสูงประโยชน์มากมายมหาศาล แต่ในทางกลับกัน มีสิ่งน่าพิจารณาประกอบ- มีการใช้และทำลายทรัพยากรธรรมชาติมหาศาล จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม(น้ำท่วม ภัยแล้ง พายุครั้งใหญ่) หรือไม่- เราจะเอาเงินทุนมาจากไหนมากมายมหาศาลในขณะที่หนี้สาธารณะท่วมนองอยู่ หากลงทุนร่วมกับจีน จีนจะเอาเปรียบไทย เราจะหาทางออกอย่างไร อย่าลืมว่าเรากู้จีน จีนทวงหนี้ ดอกเบี้ย เราจะเอาจากไหนไปคืนให้เขา- จีนเป็นแหล่งผลิตทุเรียน ผลไม้ ผัก จีนจะเข้ามาตีตลาดไทย ต่อไปสินค้าเกษตรไทย ขายไม่ออก จะแก้ปัญหาอย่างไร- เราทราบหรือไม่ว่า จีน ลาว ทำแล้วขาดทุน และเขาตั้งรับสถานการรณ์อย่างไร ถ้าของเราเหมือนเขา จะมีมาตราการรองรับด้วยวิธีใด
มองยากจีนมันจะขนของมาขายให้ไทย แต่ก็มีพืชบางชนิดที่จีนไม่ปลูกพอส่งไปขายแต่ก็ไม่คุ้ม ส่วนด้านอื่นๆก็เสียเปรียบจีนอยู่ดี
คุณคิมไม่รู้หรือครับ ว่าโครงการที่ต้องการสร้างความเจริญให้กับประเทศอย่างก้าวกระโดด รัฐบาลทุกประเทศต้องรับการขาดทุนเพื่อเพิ่มโอกาสและความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจและความรวดเร็วในการพัฒนาประเทศ ทุกประเทศทั่วโลกก็เป็นแบบนี้ การเป็นหนี้แต่ก่อให้เกิดโอกาสและความก้าวหน้าเป็นสิ่งที่สมควรทำ แต่ถ้ากการเป็นหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่ออนาคตของประเทศก็ควรหลีเลี่ยง ผมทำนายไว้เลยว่าอีกไม่นานทั้งเวียดนาม กัมพูชา และลาวจะเจริญเท่าเทียมกับไทยเพราะรถไฟฟ้านี่แหละ ถ้าลาวคิดแบบเดิมคือกลัวเป็นหนี้แล้วไม่คิดจะสร้างความเจริญให้ประเทศเลย คงอีกนยานที่จะตามไทยได้ทัน คำว่า"กับดักหนี้" ต้องใช้กับประเทศที่กู้มาแล้วประเทศไม่ได้พัฒนาเลย แต่ถ้ากู้มาแล้วสร้างโอกาสและความสามารถทางเศรษฐกิจให้กับประเทศต้องเรียกว่า หนี้ที่ก่อให้เกิดความเจริญครับ
เขารู้ครับแต่แนวความคิดเขาจะเอียงไปทางอำนาจเก่า
คุณรู้มั้ยว่า ลาวและหลายประเทศที่กู้จีนมาลงทุน กำลังปวดหัวกับหนี้อย่างหนักหน่วง ไม่รู้ว่าจะรอดจากหนี้อย่างไร แต่ที่พูดไม่ได้หมายไม่เห็นด้วยกับการสร้าง แต่เราสร้างที่กำลังเราไหว ที่กำลังทำอยู่ก็ดีแล้วครับ
@@คิงคอร์ดี้ มันไม่เกี่ยวว่าจะกู้ใคร ไม่ว่าจีน หรือ IMF มันขึ้นอยู่ที่ว่ามีปัญญาใช้หนี้เขาหรือไม่ ก็เหมือนเราไปกู้ไฟแนซ์ซื้อรถ เมื่อไม่มีปัญญาส่ง เพราะไม่ประมาณตัวเอง แล้วไปโทษไฟแนนซ์ที่ให้กู้หรือ ทำไมไม่โทษตัวเอง
@@อริยะกําพรศรีรักษา-ต4จ ใช่เลย คิดทางเดียวกัน เราควรประมาณตน นี่แหละสำคัญเลยครับ
@@คิงคอร์ดี้ ครับ
BTS สายสีเขียวช่วงไข่แดง ยังขาดทุนอีกหรือครับ
ระยะยาวคุ้มอยู่แล้วครับ ถ้าไม่ทำตอนนี้สิมันจะแพงในอนาคต ประเทศไทยมีการขนผลผลิตทางการเกษตรและที่สำคัญคือการขนคน โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวต่างประเทศ
รู้สึกว่า เจ้าของช่องต้องหาข้อมูลและความรู้ เพื่อมาทำคอนเทนที่ให้ข้อมูลรายละเอียด ข้อเท็จจริงอีกเยอะมาก หวังว่าการทำคอนเทนจะให้จ้อมูลเท็จจริงที่ดีที่สุดสำหรับผู้เสพสื่อ อย่างเราๆ
รบกวนคุณช่วยเสริมหน่อยครับ ข้อมูลตรงไหนที่เขาต้องหาเพิ่ม คนผ่านมาอ่านจะได้รู้ด้วยครับ
คุณรู้มาก แล้วคุณมีช่องมั้ยคะ มีผู้ติดตามกี่คนคะ ขอลิ้งก์ด้วยค่ะ จะได้ไปตาม
หรือที่ผ่านมาคือ กับดักรถยนต์ส่วนตัว
ถ้าหวังผลกำไรระยะสั้นคงไม่มีทาง แค่ผลประโยชน์ระยะยาวมีแน่่ส่วนรถไฟฟ้า กทม.เป็นส่วนหนึ่งของสาธารณโภคพื้นฐานสำหรับประชาชน หวังผลกำไรคงยาก แต่ประชาชนได้ประโยชน์มาก
อย่าหลงคารมจีนเลย จีนมันรู้ระบบการเมืองเรา จ่ายจบ ผ่านสบายๆ อย่าลืมว่าแค่ไม่มีเส้นทางรถไฟ เราก็ขาดดุลการค้ากับมันมาก แค่ของไปด่านจีน ก็โดนกักตรวจโน้นตรวจนี้ พอของมันมาไทยผ่านสบาย ๆ ฝากไว้ให้คิด คบกับจีนต้องฉลาด และต้องคำนึงถึง ภาพรวมภายในประเทศด้วยที่ ปชช. ได้รับผลประโยชน์จากตรงนี้ ไม่ใช้กระจุกอยู่ไม่กี่กลุ่มน่ะจ๊ะ
บวกลบคูณหารแล้ว..คุ้มที่จะทำแน่นอน เชียร์ครับ
ลาวกลัวขาดทุน ไม่พอใช้หนี้จีน จึงใช้วิธีให้จีนเป็นเจ้าของ70%รถไฟลาว ไฟฟ้าลาว แต่ให้จีนเป็นผู้จัดการ อันตรายมากครับ
เอาจริงนะ จีน 70% ลาว 30% ใน 30% ลาวก็กู้จีนอีกที
@@streetfighter1467 ครับ วิกฤตเศรษฐกิจในลาวทุกวันนี้ก็เจ้า 30% ที่กู้มานี้แหละครับ ^_^ii
กำลังจะถูกจีน takeover ประเทศแล้วล่ะ อีกหน่อยทุกคนจะต้องเรียนภาษาจีน น่ากลัวมากขอบอก
อินโดนีเซีย. ก็กู้จีนเหมือนกันส่วนไทย ไม่ได้กู้จีน. ออกเงินเอง ไม่ติดกับดักหนี้จีน แถมได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี
การเดินทางที่ดีเพื่อประชาชน จะหวังแต่กำไร ก็ไม่ได้ ขาดทุนก็ต้องหารายได้อื่นมาชดเชยครับ
ถ้ามีรถไฟความเร็วสูงแล้วค่าใช้จ่ายถูกกว่าเครื่องบินเรท500-800ต่อคน ผมว่าคุ้มนะ เหนือ-กลาง/กลาง-ใต้/กลาง-อิสาน รับรองเวลาคนกลับบ้าน ใช้รถไฟฟ้าความเร็วสูงแน่นอน
ได้ความรู้ดีคับ แต่พูดเร็วเกินไป ลดสปีดลงหน่อยจะดีมาก
มันขาดทุนอยู่แล้วจากการประเมิน ดูสาย 3 สนามบินก็ได้ CP คำนวณแล้ว ขาดทุน รัฐก็รู้ เลยต้องแถมที่ดินมักกะสันไปให้ ดังนั้นสาย กรุงเทพ-หนองคาย ขาดทุนแน่นอน แต่คนไทยเห็นรถไฟความเร็วสูงเหมือนของเล่น พอต้องใช้งานจริง จะมีสักกี่คนที่ใช้ เจอคู่แข่ง ทางคู่ ทางด่วน โลว์คอสต์ ต้องวิ่งดูว่าจะขาดทุนปีละเท่าไหร่
เอกชนสร้างเมืองที่ฉะเชิงเทรารองรับด้วยเขาจึงมองว่าภาพรวมไปไหว รถไฟความเร็วสูงมันต้องพึ่งเมืองใหญ่ที่สัมพันธ์กับระยะทางที่ลงทุนสร้าง
คนจนเมืองไทย 70% ค่าโดยสารความเร็วสูง แพงสำหรับคนไทยทั่วไป ผมเคยนั่งรถไฟความเร็วสูง ที่จีน วิ่ง เกือบ 300 กิโล แค่เร็ว แต่ไม่เห็นวิว ข้างทาง ผมชอบรถไฟวิ่ง ความเร็วปางกลาง นั่งชมวิว
Lao willing learn their experience!!!Hope there's successful !!!
ตามครับ❤
น้ำมันแพง ภาษีรุถแพง ลดสร้างถนน ทำรุถไฟ 160 กม/ชม ค่าโดยสารและขนส่งถูกก็จะไปได้
สมัยนี้ เขาไม่ใช้กำลังทหารยึดกันแล้วครับ เขาใช้วิธีปล่อยเงินกู้ระดับแสนล้าน หรือหลอกให้ร่วมลงทุนร่วมกัน แล้วทำให้ธุรกิจเจ๊งแล้วขอซื้อหุ้นทั้งหมด จนในที่สุด ท่าเรือใน ศรีลังกาถูยึด 2แห่ง (สัญญา 99ปี)...ประเทศในแอฟริกาถูกยึดท่าเรือ 2แห่งไป สองประเทศ โดยจีน...ตอนนี้ลาวก็กำลังถูกบ่วงหนี้เริ่มรัดคอแล้ว และไม่มีทางดิ้นหลุด สุดท้ายรถไฟฟ้าความเร็วสูงจะถูกจีนยึด....แต่จีนจะไม่ให้ลาวจนตรอก จีนจะให้ลาวไม่ล้มละลาย จีนจะค่อย ผ่อนปรนหนี้สินให้ลาวอยู่ได้ แต่ไม่ล้มละลาย เพราะจีนยังต้องอาศัยลาวเป็นทางผ่านไปหลอกต้มตุ๋น เวียดนากับเขมรต่อ...ส่วนไทย จีนเลิกคิดได้ ...เพราะ..ไทยรวย มีทองคำสำรองระหว่างประเทศ เป็นอันดับ 21 ของโลก จาก 198 ประเทศทั่วโลก...และไทยรู้ทันจีนมานานแล้ว เพราะเศรษฐีไทยเชื้อสายจีน เขียนเตือนไว้เมื่อ40ปีที่แล้ว ว่าให้ระวังจีนยุคใหม่ จะใช้เงินกู้หลอกยึดประเทศ การยึดประเทศ ไม่จำเป๋นต้องครองครอง..แต่ประเทศที่เป็นลูกหนี้ ก็ไม่ต่างจาก ประเทศราช เพียงแต่เครื่องบรรณาการสมัยใหม่ ก็คือ ดอกเบี้ย นั่นเอง
คุณคิมครับ!!! ข้อมูลที่นำเสนอในคลิปนี้ยังไม่ครบถ้วนนะครับ
รัฐบาลไทยไม่ได้ทำแค่นี้...
แต่นายกของไทยยังมีโครงการอื่นๆตาม"แผนยุทธศาสตร์ชาติ20ปี" เช่น
"โครงการเขตพัฒนาพิเศษ" ซึ่งกำหนดไว้ในแต่ละภูมิภาค ที่กำลังทำอยู่คือที่
ภาคตะวันออก(EEC) ที่มีทั้งรถไฟฟ้าเชื่อม 3 สนามบิน สร้างสนามบินเพิ่มที่อู่ตะเภา-ระยอง และขยายท่าเรือน้ำลึกขนถ่ายสิค้าทั่วโลกที่มาบตาพุตเฟส 3 อีกด้วย
แล้วยังมีเขตพัฒนาพิเศษที่อื่นๆ
ภาคเหนือ(NEC)
(เชียงใหม่,เชียงราย,ลำปาง,ลำพูน)
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(NeEC)
(โคราช,ขอนแก่น,อุดรธานี,หนองคาย)
ภาคตะวันตก(WEC)
(กาญจนบุรี,สุพรรณบุรี,ราชบุรี)
ภาคใต้(SEC)
(ชุมพร,ระนอง,สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช)
แล้วยังสร้าง"ท่าบก"เพิ่มเติม เช่น ที่เชียงราย,หนองคาย,นครราชสีมา และที่อื่นจะตามมา ซึ่งอยู่ตามชายแดนทั้งหมด เมื่อมีรถไฟเชื่อมไปถึง เพื่อรวบรวมและกระจายสินค้าออกต่างประเทศ
แล้วยังสร้าง"ท่าเรือน้ำลึก"ที่ระนองและชุมพร(โครงการแลนด์บริดจ์) เพื่อรองรับการขนถ่ายสินค้าจากทั่วโลกจากสองฝั่งทะเล ให้ขนส่งสินค้าต่างๆ,ก๊าซและน้ำมันผ่านไทยไปจีนและอาเซียน
แล้วที่สำคัญโครงการรถไฟของไทยทั้งหมด ทั้งรถไฟฟ้าและโครงการขยายรางคู่รถไฟเพิ่มเติมระยะทางรวม 900 กม.ทั่วไทย ก็ไม่ได้กู้เงินจีนสักบาทเดียว แต่รัฐบาลไทยออกแบบแล้วเปิดประมูลงานการก่อสร้าง รัฐร่วมลงทุนบางส่วน คือในส่วนของที่ดินโครงการและงานโยธา(ปูน-เหล็กและวิศวกรของไทย100%) แล้วแบ่งปันผลกำไรกันแบบรายปีให้กับกลุ่มทุนเอกชนไทย(PPP)ที่มาบริหารงานระบบและงานบริหารสถานี รัฐบาลไทยจึงบริหารเงินลงทุนได้เอง กำหนดค่าโดยสารและค่าขนส่งสินค้าได้เอง
และรัฐบาลมีโครงการสร้างตู้รถไฟใช้เองอีกด้วย(โครงการรถไฟไทยทำ)
และที่สำคัญไทยติดอันดับประเทศที่น่าท่องเที่ยว และได้ลำดับที่หนึ่งของโลกหลายปี มีนักท่องเที่ยวที่เข้ามาจากจีนอันดับหนึ่งและจากทั่วโลกรวมกันแล้วมากกว่า 30 ล้านคนทุกปี และจะมากขึ้นไปอีกเรื่อยๆ จากประเทศต่างๆในอาหรับ, แอฟริกา, อเมริกาใต้ ที่รัฐบาลไทยไปเปิดความสัมพันธ์ใหม่ๆ เช่น ซาอุดิอาระเบีย, ยูเออี เป็นต้น
ดังนั้นโครงการรถไฟฟ้าที่จะสร้างในแต่ภูมิภาคของไทยจึงไม่ขาดทุนเหมือนที่จีนหรือลาวอย่างแน่นอน
แต่"รถไฟไทย"จะช่วยเร่งการพัฒนาเชิงพื้นที่ ช่วยกระจายการพัฒนาด้านอสังหาริมทรัพย์ไปทั่วไทย ช่วยกระจายภาคอุสาหกรรม ช่วยเพิ่มการจ้างงาน ช่วยเพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการเดินทางท่องเที่ยว และช่วยกระจายการขนส่งสินค้าต่างๆและสินค้าทางการเกษตรทั้งภายในประเทศและการส่งออกไปต่างประเทศ ได้ทั่วถึง,สะดวกและรวดเร็วกว่าเดิม
ไทยจะกลายเป็นศูนย์กลางกระจายสินค้าจากทั่วโลกไปในภูมิภาคอาเซียนได้สมบูรณ์แบบ ช่วยเพิ่มรายได้ให้ประเทศไทยอย่างก้าวกระโดด เหมือนที่จีนทำสำเร็จด้วยรถไฟ แล้วทำให้เศรษฐกิจและรายได้จีนเพิ่มขึ้นมาเป็นอันดับสองของโลกภายในเวลาแค่ 20 ปี
เห็นด้วยครับ
ทําเขตพิเศษแต่นายทุนไปเวียดนาม
อินโดหมดแลัวเดียวคงเป็นเขตป่าช้าแน่ค่อยดูแค่ในเมืองยังไปเกือบหมดแลัว
อย่าคาดหวังเลย
ถ้าอยากได้เงินใหลเข้าประเทศจริงๆต้องทำให้สถานที่จังหวัดไม่ค่อยมีนักลงทุนนักท่องเที่ยวเป็นเขตปลอดภาษี ไม่งั้นเลื่อมล้ำนักกว่าเดิมอีก เพราะเวลาใช้หนี้ประชาชนใช้ทั้งประเทศแต่เวลาเจริญไก้กำไลมันแค่คนบ่างกลุ่มบางพื้นที่เท่านั้น
ใช่เลย
ข้อมูลคุณแน่น
ที่สำคัญไม่ได้ทำแค่รถไฟ
พัฒนาครบวงจร. ล้อ ราง เรือ เครื่องบิน เชื่อมกันแบบไร้รอยต่อ
ถนน
รถไฟ
ท่าเรือ
สนามบิน
ระบบน้ำ
เขตเศรษฐกิจพิเศษทุกภาค
เขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนวชายแดน
นครราชสีมา ไม่ใช่ภาคใต้ครับ
ไม่ต้องคิดอะไรมากครับ..
ตั้งแต่ประเทศไทยเรามี "กรมการขนส่งทางบก, กรมทางหลวง" แล้วตัดถนนกันพรึ่บพรับทั่วประเทศมาตลอด 70-80 ปีที่ผ่านมาเนี่ย เคยมีใครลุกขึ้นมาถามไหมครับว่า ถนนหลวง ซุปเปอร์ไฮเวย์ ฯลฯ ที่ทุ่มงบประมาณทั้งสร้างใหม่ทั้งบำรุงรักษาของเดิมปีละ 6-7 หมื่นล้านบาททุกๆปีนี้ กรมทางหลวง-กรมการขนส่งทางบกทำกำไรจากถนนหลวงได้ปีละเท่าไหร่...???
คำตอบคือขาดทุนมาตลอดครับ ไม่เคยได้กำไร แต่ความจริงกำไรมันก็คือการได้ขยายความเจริญ การที่ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นนั่นเอง
ไม่ต่างกันกับ "กรมการขนส่งทางราง" ถ้าจะมีใครมาโวยวายว่ารถไฟขาดทุน ก็ต้องถามกลับไปว่า "แล้วกรมทางหลวงทำกำไรต่อปีได้เท่าไหร่เหรอครับ...???"
ซึ่งก็คือทั้งระบบถนน-ระบบราง ต่างก็เป็นโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมที่รัฐต้องจัดให้บริการแก่ประชาชนอย่างดี เข่นเดียวกันกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน, การรักษาพยาบาล... ฯลฯ ที่ไม่สามารถเอามาคิดกำไร-ขาดทุนทางตรงเป็นตัวเลขได้
ที่สำคัญที่สุดหลังจากโครงสร้างพื้นฐานระบบรางได้รับการปรับปรุงอย่างทั่วถึง จะส่งผลให้ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ของประเทศลดลงได้ถึง 70-80% เปรียบเทียบรถหัวลากหนึ่งคันขนตู้คอนเทนเนอร์หนึ่งตู้ไปในระยะทางหนึ่ง แต่หัวรถจักรหนึ่งหัวใช้พลังงานเท่ากับรถหัวลากสองคันแต่ขนตู้คอนเทนเนอร์ไปทางรางได้ 50-70 ตู้ในระยะทางที่เท่ากัน ซึ่งหลังจากระบบรางทั่วประเทศแล้วเสร็จ จะส่งผลให้รถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ 50-60% หายไปจากถนนหลวง ลดความคับคั่งของของทางหลวง เหลือแต่รถบัส(ซึ่งก็จะหายไปมากกว่า 50%)และรถยนต์ส่วนตัว ซึ่งจะส่งผลให้การสัญจรบนทางหลวงมีความปลอดภัยมากขึ้น ยังไม่พูดถึงการบริโภคพลังานปิโตรเลียมของประเทศที่จะลดลงอย่างมหาศาล
ไม่ใช่ว่าในน้ำมันที่เราซื้อๆกันอยู่รวมภาษีในการสร้างแล้วก็ซ่อมบำรุงถนนอยู่เหรอครับ????
@@gigabitelakmak6734 ภาษีสรรพสามิตรของน้ำมัน มันวิ่งไปกระทรวงการคลังนะครับ ไม่ได้วิ่งไปกรมทางหลวง แล้วสำนักงบประมาณก็จัดสรรเงินมาให้สร้างทาง-ซ่อมบำรุงทางให้กรมทางหลวงอีกที
จริงครับ มัวเเต่คิดเรื่องขาดทุนไม่คุ้มการลงทุน ประเทศก็ไม่พัฒนาไปไหนสักที สิ่งที่จะได้ประโยชน์คือประชาชนจะได้มีตัวเลือกการเดินทางเเละมันจะพัฒนาไปตามหัวเมืองต่างๆที่เร็วไฟความเร็วสูงผ่าน เกิดการจ้างงานขึ้นประชาชนมีรายได้ เมืองพัฒนา นักลงทุนมันไม่ค่อยมองจุดนี้หรอกครับ มีเเต่หวังผลประโยชน์ของตัวเอง
@@thasspongthapsang6769 เข้าท้องถิ่นด้วยไม่ใช่หรอครับ
นึกถึงจังหวัดไม่มีรถไฟ แล้วรอคอยมาหลายวิบปี เชียงราย รอมาจะร้อยปีแล้ว
ถูกต้องครับขาดทุน
แต่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมันก็ต้องทำ
1. ขาดทุนแหง ๆ (แต่ต้องทำ)
2.มีการจ้างงาน
3.ตรงไหนมีการคมนาคมตรงนั้นจะเจริญ เมืองจะขยายตัว จะเกิดเมืองใหม่
4.ค่าใช้จ่ายถูกกว่าขนส่งแบบอื่น
มัวเเต่คิดเรื่องกำไรขาดทุน ประเทศก็ไม่พัฒนาไปไหนสักที จริงอยู่ว่าเเรกๆมันขาดทุนเเต่สิ่งที่ได้ประโยชน์คือประชาชนจะได้มีตัวเลือกในการเดินทาง เเละรถไฟฟ้าความเร็วสูงผ่านที่ไหนมันก็จะเกิดการจ้างงานขึ้น เศรษฐกิจก็ดีขึ้น เมืองพัฒนาตามไปด้วย กระจายความเจริญไปตามจังหวัดต่างๆ เเต่ก็อย่างว่าเเหละนักลงทุนมันก็จะมองเเค่ผลประโยชน์ส่วนตัว ไม่ได้มองถึงการพัฒนาของประเทศเป็นหลัก
แบบศรีลังกาไง ล้มละลาย 55555
@@พรรษชลพงษ์แก้ว ยุคนี้มีมีทางไทยเคยเจอมาแล้วยุคชวลิตเป็นนายกทักษิณเป็นรมต
จริงอย่างว่า ทำไมต้องมานั่งคิด ขาดทุนหรือกำไร เพราะอะไร เงินที่ใช้ก็เป็นภาษีประชาชน รัฐไม่ได้หาเงินมาใช้หนี้ แต่เป็นประชาชนที่ต้องเสียภาษีเพื่อใช้หนี้ ที่รัฐบาลกู้มา รัฐบาลไม่ได้มีกิจการอะไรทุกๆอย่างล้วนมาจากภาษีของประชาชน ที่ขาดทุนแน่ๆ น่าจะมาจากการคอรัปชั่นในรัฐบาลซะมากกว่า ไม่เห็นเก็บเอามาคิดกัน
@@พรรษชลพงษ์แก้ว กรณีของศรีลังกามันไม่เหมือนของไทย ของไทยกู้ภายในประเทศเป็นหลักเเต่ของศรีลังกากู้ต่างประเทศ
ใช่ครับ เคยมีโครงการสายไฟลงดินพวกผู้บริการสายเคเบิ้ลออกมาโวยยับ
รายการนี้ตอบได้ถูกใจ พูดได้เนื้อหาดีมากๆ
ยอดเยี่ยม...
ฝอยไปเรื่อยเปื่อยเนี่ยนะ เสียเวลาดู
@@กําธรแก้วกลางใจ น้ำเยอะมาก
คิดเสียว่ามันเป็นการบริการจากรัฐ และการนำความเจริญมาสู่ที่รถไฟวิ่งผ่าน มันก็เหมือนการให้บริการรถเมล์ของ กทม.ที่ขาดทุนมาตลอดมีหนี้สะสมเป็นแสนล้านถ้าคิดถึงขาดทุนกำไรมันก็ต้องเลิกให้บริการรถเมล์ไปเพราะมันขาดทุน ที่จีนรถไฟฟ้าใต้ดินเขาคิดแค่ 2 หยวน ( 10 บาท)ไม่ว่าคุณจะต่อกี่สายก็ตามตราบใดที่คุณยังไม่ออกจากระบบเขาก็คิดแค่ 2 หยวน มันต้องขาดทุนแน่ แต่มันเป็นการบริการจากรัฐ มันก็เหมือนท่านที่คอมเม้นก่อนหน้า ว่าทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงชนบท ยาวเป็น แสนกิโล สร้างแล้วทางหลวงได้กำไรไหมสร้างขยายทุกปีรวมทั้งการซ่อมบำรุง มันไม่ขาดทุนย่อยยับเหรอ
แกรู้แล้ว แกทำคลิปเรียกยอดวิว 5555....
ถูกของคุณถ้าเป็นการบริการประชาชนให้สดวกสบายก็ถือว่าคุ้มเอาประชาชนเป็นหลักวิเคราะห์แบบเอียงๆหรือเปล่า?คิดว่าไทยไม่ได้โง่ขนาดนั้นและไม่ได้กู้จีนด้วยแม้แต่บาทเดียว
ฟังคลิปให้จบอย่างตั้งใจ
ไทยได้เปรียบตรง มีนักท่องเที่ยวเข้ามาใช้ด้วย นอกจากคนในประเทศ และถ้าการก่อสร้างทำให้เกิดการจ้างงาน และเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจจากการลงทุนสร้าง ก็ได้ทุนคืนมาส่วนหนึ่งแล้ว นอกจากนี้ยังดึงการลงทุนเข้ามาลงทุนในไทยอีกเพราะระบบขนส่งทันสมัยรวดเร็ว เพิ่มนักท่องเที่ยวได้อีกเพราะไม่เสียเวลา ทำให้เที่ยวได้หลายที่ในเวลาเท่ากัน
ต่างชาติมาเที่ยวประเทศไทยเพราะชอบเที่ยววัดในพุทธศาสนาและศิลปะวัฒนธรรมประเพณีทางพุทธศาสนา ประเทศอินโดนีเซียมีเกาะเป็นหมื่นเกาะ ฟิลิปปินส์มีเกาะเกือบหมื่นเกาะ ประเทศอื่นมีทะเลภูเขาที่สวยงามมากกว่าประเทศไทยแต่ประเทศเหล่านั้นไม่ได้นับถือศาสนาพุทธ เช่นอินโดนีเซียนับถือศาสนาอิสลาม ชาวตะวันตกฝรั่งไม่กล้าไปเที่ยวประเทศอิสลามเพราะรู้สึกไม่ปลอดภัย
ประเทศไทยต่างชาติมองว่าเป็นเมืองพุทธทำให้คนมาเที่ยวประเทศไทย แต่ปัจจุบันมีขบวนการโค่นล้มทำลายพระพุทธศาสนา มีนักข่าวโจมตีทำลายศาสนาพุทธ มีคนจากหน่วยงานราชการกดขี่ข่มเหงรังแกพระสงฆ์เพื่อทำลายศาสนาพุทธ รัฐบาลและหน่วยงานราชการได้เงินภาษีจากการท่องเที่ยวที่ต่างชาติมาเที่ยววัดในพุทธศาสนาแต่รัฐบาลกับหน่วยงานราชการไม่ส่งเสริมไม่สนับสนุนศาสนาพุทธ
ชาวพุทธต้องรู้ความจริง
แค่คิดก็ไม่เจริญแล้ว จะกู้ไปทำไมในเมื่อสร้างเองได้ วัสดุก่อ สร้างก็มี ทำไมไทยไม่เอา ไทยเอา แต่จีนไม่ให้ เพราะจีนต้องการ สร้างเองจ้างงานคนจีนใช้วัสดุจีนทุกอย่สงจีน คำว่าจ้างงานทิ้งไปได้เลย คำว่ากำไร ก็ทิ้งไปได้เลย ควาทเจริญ มีแน่ แต่ต้องไม่ใช่ของจีนทั้งหมด อาจมีรถไฟจีนได้ แต่ทุกอย่างไม่ต้องเป็นของจีน ดูข้อมูลและข้อตกลงบ้างอย่าดูแคาโปรเจค
แย่งลูกค้ากับเครื่องบิน แย่งกันขาดทุน
ครับอย่างน้อยก็เป็นการพัฒนาปรับปรุงระบบรถไฟซึ่งไม่ได้พัฒนามานานแล้ว
@@supphasekalive7677
เป็นทางเลือก
อย่างน้อยเราก็..ยังบริหารรถไฟฯได้ ลงทุนเอง.. การลงทุนทุกอย่าง..มีความเสี่ยง..เหมือนกับ หุ้น..ครับ
..แต่การท่องเที่ยวดีแน่...
ความเจริญตามมาแน่..
แล้วถ้าเรา..ไม่กล้าลงทุน..
ความเจริญก้าวหน้าจะเกิดไหม..ครับ... ยังมีช่องทางหารายได้..ตามสถานีต่างๆ.. ถ้ากลัวเสียเปรียบจีน..คงไม่ต้องมี กระทรวงพานิชย์..นะครับ.. เลิกครบจีนดีไหม..ครับ พลิกวิกฤติให้เป็น โอกาส ซิครับ..ผมพูดช้านิด เพราะชอบย้อนไปดู ที่ผ่านมา ครับ..ตอนนี้เป็นไง..กล้าคิด กล้าตัดสินใจ...ถ้าเรามีผู้นำที่มีหัวการค้าด้วย..
พอไปได้...เฉพาะนักท่องเที่ยวจากจีนประเทศเดียว
มาไทยก็มากมายแล้ว...ไหนค้าขาย..ความเจริญที่ตามมาอีก.. ไม่มีอะไรสมบูรณ์แบบ ร้อยเปอร์เซ็นต์..ครับ คิดได้..ดีเลิศแค่ไหน..ไม่ลงมือทำ
ก็เท่านั้น.....อย่ากลัวเกินเหตุ.. ถ้าเรามีบุคคลากรที่ดี...ด้วยช่วยได้ครับ..มองต่าง..มุม แต่แง้..ความคิด
ขอบคุณ ครับ
ฟังแล้วเหนื่อยแทน ถ้ารัฐคิดว่าจะสร้างเพื่อหวังผลกำไรมหาศาลจากปปช.คือเจ้งตั้งแต่คิดแล้วคับแต่ถ้าคิดที่จะสร้างเพื่อความเจริญด้านคมนาคมพื้นฐานของปปช.ให้เป็นสวัสดิการจากภาครัฐเพิ่อความเจริญระยะยาวของประเทศอันนี้ค่อยสบายใจขึ้น เข้าใจคับว่าการลงทุนมันต้องเอาตัวเลขมาวัดผลกำไรแต่อย่าพึ่งด่วนตัดสินได้ไหมคับในอนาคต100ปี1000ปีข้างหน้าความเจริญมันต้องก้าวไปไม่หยุด กำไรมันต้องมีแน่นอนคับ อย่าคิดแค่วันนี้พรุงนี้
ดูหลายครั้งแล้ว เข้าใจคำว่า "อย่าคิดแค่ วันนี้พรุ่งนี้" ที่คุณเมนท์มาเลย.
โครงสร้างพื้นฐานมันต้องสอดคล้องกับระดับเศรษฐกิจ มีหนี้ได้แต่ถ้าเกินตัวหรือฟองสบู่ (ทำทั้ง ๆไม่ถึงเวลาเพื่อปั่นอสังหา) ชาติต่าง ๆ ก็ติดกับดักหนี้นั้นเอง
รัฐบาลชุดนี้เขาก็คิดแบบนี้แหละ
ตอนนี้ลงมือสร้างคืบหน้าไปมากแล้ว
ทำรถไฟธรรมดาให้ดี คุ้มกว่าครับ
ก็เหมือนศรีลังกา ลาว นั่นแหละลงทุนสร้างท่าเรือ สร้างรถไฟ สร้างเขื่อน ก็หวังอนาคต แต่กว่าจะถึงตอนนั้น ถ้าไม่มีเงินหมุน ไม่มีรายได้มาทดแทน มันก็จะเสี่ยงล้มละลาย
ในความคิดเห็นของผม จีนหวังผลประโยชน์ระยะยาว การเดินทางของสินค้า ภายใต้ต้นทุนการขนส่ง
ใช่ครับ การทำในช่วงแรกมันขาดทุนชัวร์ๆ แต่ว่าในระยะยาวมันส่งเสริมหลายๆอย่าง เรื่องพวกนี้เลยไม่จำเป็นที่จะต้องได้กำไรเสมอไป แต่ว่าก็จะหารายได้จากทางอื่นให้เป็นด้วย และมีเงินหนา ถ้าไทยทำเรื่องนี้ได้ ทำเลย แต่ก็ควรหารายได้เข้าประเทศมากกว่านี้ ไม่ใช่รายได้หลักจากภาษีประชาชน
ขนาดเจ้าของโปรเจ็กต์ยังขาดทุน..ส่วนลาวคือตัวอย่างที่ดีเพราะโดนไปแล้ว
@@quantum.5145 ของลาวเป็นรัฐวิสาหกิจ รัฐบาลถือหุ้นไม่ถึง20%....
รายได้ขอรัฐก็มาจากภาษีเป็นปกติไม่ใช่เหรอครับ ถ้าจากเรื่องสาธารณูปโภคต่าง ๆ รัฐก็ไม่ค่อยได้กำไรอยู่แล้ว เพราะโครงการส่วนใหญ่เป็นโครงการระยะยาว กินทีละน้อย ๆ ไม่ได้เอากำไรมาก
จะให้รัฐไปทำแข่งเอกชนเหรอ
จะเอารายได้มีทางไหนมั่ง
สัมปทาน
เก็บค่าธรรมเนียม... อย่างวีซ่าตอนนี้มีแต่ฟรีวีซ่า
ภาษีvat10%ก็ประกาศใช้เป็น7%ทุกปี
เงินเฟ้อมากควรจะขึ้นตัวนี้แหละไปขึ้นทำไมดอกเบี้ย
รัฐบาลเขาก็คิดแบบนั้นแหละ ตอนนี้กำลังสร้างรถไฟความเร็วสูง2สาย
สายอีสาน กับ สายตะวันออก
ประมาณปี2569. เปิดใช้บริการ
ระหว่างรอใช้รถไฟความเร็วสูง รถไฟทางคู่ก็เสร็จเปิดใช้ก่อน.
เพราะสร้างได้เร็วกว่า ลงทุนน้อยกว่า
ขนได้ทั้งคน และ สินค้า
ส่วนรถไฟความเร็วสูง เน้นขนส่งคน
เส้นทางในจีน กับ เส้นออกนอกประเทศ มันต่างกัน เส้นทางรถไฟในจีน เป็นหลายพันหลายหมื่นเส้นทางเพื่อประชาชนใช้ แต่เส้นทางรถไฟออกนอกประเทศ มีแต่เส้นทางรถไฟสายเดียวไปยุโรปเพื่อค้าขาย อีกเส้นทางสายเดียวถึงสิงคโปร์ เพื่อค้าขาย สายเดียวออกนอกประเทศแบบนี้ไม่ขาดทุนหรอก ที่มักขาดทุนคือสร้างทางรถไฟหลายสายทั่วในประเทศตัวเอง แต่ก็อนาคตถ้าคนย้ายไปอยู่เขตนั้นเยอะอาจไม่ขาดทุน
รถไฟความเร็วสูงของจีนถูกสร้างขึ้นด้วยพื้นฐานของลัทธิคอมมิวนิสต์ล้วนๆ ด้วยหลักการที่ว่า "ต้องให้บริการแก่ประชาชนทุกคนอย่างทั่วถึง" ทำให้จีนเป็นประเทศเดียวในโลกที่รถไฟความเร็วสูงมี "ตั๋วยืน" จำหน่ายในราคาถูกแสนถูก โดยที่นั่งชั้นปรกติราคาอาจเป็น 200-300 บาท แต่คนจนจะซื้อตั๋วยืนได้ในราคา 15-20 บาท และที่สำคัญที่สุดไม่ว่าจะไปตั๋วชั้นไหนแต่ทุกคนก็จะไปถึงจุดหมายปลายทางเท่าเทียมและพร้อมเพรียงกันตามหลักการคอมมิวนิสท์
จีนอยากสร้างรถไฟความเร็วสูงมาอาเซียน เขาคิดไว้แล้วว่าสร้างมาทางอาเซียนจะเอาเป็นช่องทางเอาของมาขาย
ลองคิดกลับกัน ถ้าเรามีโครงการ สร้างรถไฟความเร็วสูงไปอินเดีย สินค้าเราที่คนอินเดียชื่นชอบเป็นทุนอยู่แล้ว จะส่งไปขายที่อินเดียปีนึงๆเท่าไร แล้วคนอินเดียก็ค่อยๆมีกำลังซื้อมากขึ้น ประชากรมากขึ้น
น่าเอาของไปขาย มากกว่าเอาสินค้าไปขายที่จีนอีก
จะสร้างไปอินเดีย ก็ต้องสร้างผ่านพม่าไง
ตอนนี้พม่ามีปัญหาภายในประเทศ นี้คืออุปสรรค
@@fundeekongsuk7815 ถ้าจะเอาจริงๆ พม่าเอาด้วยอยู่แล้ว แต่เงินเราไม่พอ 5555555
@So Raan การสร้างรถไฟไปลาวเขามองข้ามช็อตไปถึงจีนต่างหาก ลาวแค่ผลพลอยได้ หากภาครัฐส่งเสริมการค้าการส่งอิกให้ดีๆ จีนมีเงินมีคนครับ อินเดียสู้ไม่ได้หรอกการเมืองการปกครองเศรษฐกิจต่างกันมากครับ ทั้งโลกตอนนี้มุ่งสู่จีนทั้งอำนาจและเศรษฐกิจ
เมกะโปรเจกต์ของอเมริกาในยุคบุกเบิกอย่างหนึ่งคือ ทางรถไฟจากภาคคะวันออกไปสู่ภาคตะวันตก แคลิฟอร์เนียจึงรุ่งเรื่องมากๆ จากโปรเจคนี้
ปัจจุบันก็ยังขนสินค้าอยู่
รถไฟทางคู่คุ้มค่าต่อการลงทุนที่สุด ขนได้ทั้งคนและทั้งของ และมีหลายสถานีเข้าถึงคนได้จำนวนมาก ส่วนรถไฟความเร็วสูงมีสถานนีน้อยคนเข้าถึงได้น้อย และ ราคาสูง
คุนหมายถึงศรีลังกาล้มสลายเพราะกฟุ้เงินจีนหรือครับ เราซื้อรถยนต์คันละล้านไว้ใช้ กำไรไหมคับ
คงต้องเพิ่มภาษีนำเข้า พืชผักผลไม้ (ถ้าไม่ติดสัญญาอะไร) และก็เน้นสนับสนุนการแปรรูป พืชผักผลไม้ ของไทยเอง
สัญญาทวิภาคีที่ทำกันไว้
ขอถามหน่อยครับว่า ราคาตั๋วรถไฟความเร็วสูง (สมมุติว่าไทยมี) กรุงเทพ-เชียงใหม่ ราคาเท่าไหร่ครับ / ราคาตั๋วเครื่องบิน กรุงเทพ-เชียงใหม่ เท่าไหร่ครับ / รถไฟความเร็วสูง ใช้เวลาเดินทางกี่ชั่วโมงครับ - เครื่องบิน ใช้เวลาเดินทางกี่ชั่วโมงครับ? ซึ่งความคิดส่วนตัวผม ผมเลือกใช้บริการเครื่องบินครับ หรือจะเดินทางไปเที่ยว ลาว เดินทางไปเที่ยว จีน ยังไงผมก็เลือกใช้บริการของเครื่องบินอยู่ดีครับ. ในความคิดของผม รถไฟความเร็วสูงที่กำลังสร้างกันอยู่นี่ จีนได้ประโยชน์มากที่สุด โดย สินค้าจีนจะหลั่งไหลมาเป็นจำนวนมหาศาล (สินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ) ส่วนตัวแล้ว อยากให้จีนลงทุนสร้างทางรถไฟความเร็วสูงเองจะดีกว่า โดยไทยจะเก็บค่าเช่าในการใช้พื้นที่จะดีกว่า
ผลประโยชน์ทางอ้อมมันมหาศาลมากครับ เช่นจะการพัฒนารอบๆสถานีอีกมากมาย การก่อสร้างจะตามมาอีกไม่รู้เท่าไหร่ นั่นจะทำให้ภาคการผลิตวัสดุก่อสร้างขยายตัว
เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็นวงกว้าง ไหนจะภาคท่องเที่ยวอีกล่ะ โรงแรม ร้านอาหาร ที่อยู่อาศัย ที่แน่ๆคือ การกระจายความเจริญออกสู่ภูมิภาค ตรงนี้คำนวณเป็นเม็ดเงินไม่ได้แน่ เพราะมันเหลือคณานับ
โครงการแบบนี้จะมาคิดแค่ค่าตั๋วโดยสารไม่ได้หรอกครับ
อ้อ.. เห็นๆเลยคือมูลค่าของที่ดินจะเพิ่มขึ้นเห็นๆครับ
สินค้าจีนจะทะลักเข้าในไทยมากอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน...ซึ่งปกติก็ไทยก็เสียดุลย์การค้าจีนมากอยู่แล้ว แลกกับทัวร์ 0 เหรียญ แบบแอบๆ ...สรุปคือได้นักท่องเที่ยวเล็กน้อยๆ ถ้าเทียบสัดส่วนกับมูลค่าสินค้าที่ทะลักเข้ามา จากขาดดุลย์แสนล้าน จะกลายเป็นล้านล้านบาท/ปี แล้วคอยดูละกัน ใครคิดเศรษฐกิจดีขึ้น ลองไปถาม เกษตรกร/SME/สินค้าจีนทุ่มตลาดตายกันหมด เพราะคนไทยปรับตัวไม่ทัน ภาครัฐไม่เข้มแข็ง.....จบเห่
จริงครับ 👍 เห็นด้วยอย่างแรง
จริงครับ ปิดประเทศไปเลย คนในห้ามออกคนนอกห้ามเข้า เด่วนี้ฝรั่งมาล่อสาวไทย ติดฝิกดาบลิงแล้ว ไม่รู้จะติดเยอะเท่าไรอิก
พึ่งกลับจากเที่ยวลาว ตอนนี้จีนกำลังทำตลาดจีนในลาว กำลังก่อสร้าง เขตใกล้ข้ามมาไทย ที่นองคาย เป้าหมายลูกค้าน่าจะเป็นคนไทย
หากคำนวนแล้วขาดทุน จะปล่อยให้เป็นอนุเสาวรีย์หรือครับ ผมเห็นควรตัองทำต่อให้คนเราใช้ หากไม่ทำ เราก็ยังใชรถยนต์มากเช่นเดิม
ผมเคยออกความเห็นเรื่องการฟังจับใจความยาก คลิปนี้ดีขึ้นครับ
มีข้อเสนอแนะ อีกอย่างครับ
ถ้าทำซับ น่าจะเพิ่มการสื่อสารความเข้าใจได้มากขึ้น (ผมก็ไม่แน่ใจนะว่าใช้คำถูกรึเปล่า บางเจ้าเค้าไม่ได้ลอกจากคำพูดเป๊ะๆ แต่มันดูดี และเข้าใจมากขึ้น เช่นพวกรายการของเวิร์คพอยท์ (เดอะวอล))
ขนส่งสาธารณะถ้าคิดถึงกำไรขาดทุนที่เป็นเม็ดเงินคงไม่ต้องทำเพราะอย่างไรก็ไม่มีกำไร ถ้าจะมีหรือจุดคุ้มทุนคงใช้เวลา 30-40 ปีครับ
泰国建高铁肯定是值得的,你们是旅游大国,高铁方便了游客出行,减少了出行时间,可以有更多的时间欣赏美景;
高铁运行亏损是必然的,它服务了老百姓,但其带动了周边产业的发展,政府以这方面的税收补贴高铁亏损;
ผมชอบตั๋วยืนของรถไฟความเร็วสูงของประเทศจีนมากครับ ช่วยประหยัดค่าเดินทางได้มาก เพราะรถไฟความเร็วสูงระดับ 300-350 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ขึ้นไปยืนชมวิวสองข้างทางแป๊บเดียวก็ถึงที่หมายแล้ว
อยากให้รถไฟความเร็วสูงของไทยมีตั๋วยืนแบบนี้บ้างครับ
แต่คนไทยจำนวนมากไม่ค่อยเห็นด้วยที่จะทำ
@@cnservice4322 ในชั่วโมงเร่งด่วน รถไฟฟ้า BTS ก็ทำตั๋วยืนสองโบกี้ทุกขบวนครับ 🤭🤭
ถ้าอยากได้ความเร็วสูงจริงๆ ต้องหาเส้นทางที่โค้งน้อย และที่สำคัญคือต้องระวังพวกหัวขโมยชอบถอดหมุดรางรถไฟ ส่วนตัวชอบโครงการที่ซาอุจะสร้างเมืองใหม่ วางรถไฟไว้ใต้ดิน รางรถไฟก็เป็นเส้นตรง เพื่อให้รถไฟวิ่งได้เต็มสปีด
ถ้าเชื่อมรถไฟความเร็วสูงไปถึงหนองคาย ติดใกล้ๆกับรถไฟความเร็วสูง(ลาว)จีน
ส่วนตัวผมมองว่า สินค้าจากจีนจะทะลักเข้ามา ทำตลาดค้าผักและผลไม้สดแถวทางภาคอีสานพังนะ เพราะพวกเขาจะขายได้ราคาถูกกว่า พ่อค้าแม่ค้าท้องถิ่น ถึงว่าสิ คนจีนหนุ่มสาวบางส่วนถึงเรียนภาษาไทย คิดว่าคงเพราะ ต้องการเข้ามาค้าขายสินค้าราคาถูกด้วยตนเอง โดยไม่ผ่านนายหน้าในไทย
พ่อค้าแม่ค้าในไทย เตรียมรับมือ ส่วนผู้บริโภค อาจจะได้ซื้อของถูกลง แต่คุณภาพดีหรือเปล่า อันนี้คงต้องรอดูอีกทีหนึ่ง
คนลาว มีงานทำเยอะขึ้นน่ะครับ หลังรถไฟมา
เห็นได้ยินว่า รถไฟฟ้าความเร็วสูง เกือบทั้งหมดขาดทุนแม้แต่ญี่ปุ่นที่เป็นเจ้าของรถไฟฟ้าความเร็วสูงแห่งแรกของโลก เว้น อิตาลี ที่ทางซีพี เชิญมาน่าจะเป็นที่ปรึกษาค่ะ แต่จะต้องใช้การพัฒนาที่ดินควบคู่ไปด้วยถึงจะมีกำไรค่ะ
และแน่นอนค่ะ ของฟรี ไม่มีในโลก แต่ไทยยังโชคดีนะคะ ที่รัชกาลที่ 5 ทรงจัดหาที่ดินให้การรถไฟไว้แล้ว เอาจริง ทางรถไฟไปทั่วนี่มาก่อนถนนอีกค่ะ เพียงแต่ ถนนที่มาทีหลังมาแรงและเร็วกว่า การสร้างถนนเอาจริง ทำให้ราคาที่ดินข้างทางคือ พุ่งขึ้นทันทีทั้งเส้น แต่ทางรถไฟ จะดีแต่แค่ตรงสถานีเท่านั้น สายทาง ไม่มีผลอะไรใด ๆ ฝ่ายการเมืองเลยไม่ค่อยชอบค่ะ (ซึ่งมองในแง่ดี ถนนไปถึงไหน หัวไร่ปลายนาก็สามารถขนสินค้าขึ้นถนนได้เลย)
อย่ามองทุกอย่างเป็นแต่ธุรกิจเสียทั้งหมด อยากให้มองว่ามันคือ สาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐานที่ควรพึงมี ระบบรถราง รถไฟไทย ถือว่าพัฒนาช้ามาก รัฐควรต้องเร่งสร้างให้เสร็จโดยเร็ว
ขอบคุณสำหรับความรู้เพิ่มเติมค่ะ นายกไทยขาดการประชาสัมพันธ์ ควรบอกให้ประชาชนทราบด้วยค่ะ
การทำระบบคมนาคมมันต้องดูมูลค่ารวมทางเศรษฐกิจ เป็นการหนุนกิจกรรมอื่นๆ การท่องเทียว การพัฒนาที่ดินบริเวณใกล้เคียง ฯลฯ ถ้าจะทำแล้วได้กำไรเป็นไปได้ยาก อย่างรถไฟสายเหนือ ญี่ปุ่นจะใช้ระบบซินคันเซนที่ใช้ในญี่ปุ่นแต่ในญี่ปุ่นเมืองแต่ละเมืองจะใหญ่มากหรือนักท่องเที่ยวเยอะ จะคุ้มในแย่เศรษฐกิจและค่าโดยสารจากนักท่องเที่ยว... แต่ไทยจะเป็นในแง่การพัฒนาพื้นที่รอบๆ เป็นคนละแบบกับญี่ปุ่น เลยศึกษากันหลายปียังไม่ได้สร้างสักที เพราะเป็นการที่ให้ญี่ปุ่นร่วมลงทุน....เป็นต้น
คุณ Kim sharp มากค่ะ
ขอบคุณที่รัก เมืองไทย ไม่ เห็นแก่ตัว เก่งรอบด้านเลยค่ะ
เอ แล้วโครงสร้างพื้นฐานกิจการรถไฟที่มีอยู่ทั่วทุกมุมโลกนี้มีประเทศใดเขาสร้างขึ้นมามุ่งหวังกำไรบ้าง ถ้าไม่ใช่เพื่อให้คนในประเทศได้ใช้บริการติดต่อถึงกันได้ทำธุระกิจ,ส่งสินค้าทำมาหากิน และเปนการกระจายความเจริญให้ขยายตัวออกไปไม่กระจุกตัวเฉพาะในเขตเมืองที่มีการขนส่งดีอยู่แล้ว และยังช่วยให้เกิดการพัฒนาพท.ดินสองทั้งฝั่งตามไปด้วย กิจการรถไฟอย่างนี้จึงต้องมีให้ทั่วถึงเพราะได้เปรียบในเรื่องการขนส่งขนคนขนสินค้าได้มากกว่ารถยนต์ในพท.เท่าๆกัน และการลงทุนมหาศาลจากรัฐแบบนี้ยังเปนตัวช่วยฉุดให้เศรษฐกิจของประเทศด้วยรวมดีขึ้นด้วยการจ้างงานครั้งมโหฬาร เปนการอัดฉีดเงินไปกระตุ้นโดยตรงและโครงสร้างพื้นฐานเช่นนี้ก็คงอยู่ใช้งานไปได้นับร้อยปีขึ้นไป ยิ่งเชื่อต่อกับต่างชาติเปนโครงข่ายนานาชาติก็จะยิ่งทำให้ขนสินค้าในประเทศเปนไปได้อย่างรวดเร็วและราคาถูกลงอีกด้วย แม้แต่บีทีเอสที่ลงทุนเองทั้งหมดเพราะรัฐบาลไม่สนใจเกือบถึงขั้นล้มละลาย เพิ่งจะลืมตาอ้าปากและทำให้รัฐบาลตระหนักได้ว่าสมควรมีจริงๆและจำเปนทั้งในวันนี้และเพื่อลูกหลานในวันหน้าอีกด้วย
ญี่ปุ่นทำได้นะคะ? (แต่ขาดทุนไหม?ไม่รู้เหมือนกันคะ)
จีนเส้นทางรถไฟ ออกนอกประ สร้างเส้นเดียว ไปยุโรป เพื่อค้าขายไม่ขาดทุนหรอก มาอาเซียน ก็สร้างเส้นเดียว ประเทศละ1เส้นทางเพื่อค้าขายไม่ขาดทุน(ที่มักขาดทุนคือเส้นทางรถไฟในประเทศ จีนสร้างหลายเส้นหลายสายเป็นพันเส้นหมื่นเส้นทั่วในประเทศ เพื่อประชาชนใช้ บางเส้นทางสู่ชนบท คนอาศัยน้อยอาจขาดทุน แต่อนาคต คนเข้าไปอยู่เยอะ จะไม่ขาดทุน ตอนนี้กำลังไปตั้งโรงงานแถวชนบท เพื่อคนไปอยู่เยอะ รถไฟจะไม่ขาดทุน
คือถ้าคิดจะหากำไรจากการเดินรถ ก็เป็นการคิดแบบ “การรถไฟแห่งประเทศไทย” หรือ รฟท
ของญี่ปุ่น บริษัทรถไฟ เค้าจะพัฒนาพื้นที่รอบๆ สถานี สร้าง โรงแรม ห้างสรรพสินค้า เพื่อหารายได้ รถไฟคือ พาหนะนำคน และ ความเจริญเข้าสู่พื้นที่ อันนี้คือ จุดมุ่งหมายของ รถไฟความเร็วสูง กำไรจากการเดินรถมันไม่มีอยู่แล้ว ไม่ว่าประเทศไหน
ญี่ปุ่นใช้เวลา 50 ปีเต็มกว่ารถไฟชินกันเซ็นถึงจะถึงจุดคุ้มทุน หมายความว่าบริษัท Japan Railway (JR) ต้องแบกรับภาระขาดทุนถึง 50 ปี โดยรัฐบาลญี่ปุ่นsupportให้ (รายได้หลักมาจากค่าโดยสาร 70% ส่วนอีก 30% มาจากรายได้อื่นเช่นค่าพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ค่าเช่าที่ ค่าโฆษณา) โครงการรถไฟความเร็วสูงขาดทุนแน่ปัญหาคือขาดทุนมากแค่ไหน รัฐบาลจะอุ้มไหวไหมและอุ้มได้นานเท่าไหร่
หากจะคิดแค่ 3-40 ปี ไม่มีกำไรแน่นอน แต่ต้องมองระยะยาว มันคือการคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ เพราะว่ามันคือโครงส้างด้านคมนาคมขนส่ง ช่วยให้การเดีนทางสดวกสบายรวดเร็ว ช่วยให้ต้นทุนการขนส่งถูกลงและรวดเร็ว ช่วยดืงดูดการลงทุนของต่างชาติ และอีกหลายๆจะตามมา ให้ดูประเทศญี่ปุ่นและจีนเป็นตัวอย่างรถไฟฟ้าช่วยให้เศรษฐกิจเจริญเตีบโต
ทั้งจีน ทั้งญี่ปุ่นที่เป็นเจ้าของเทคโนโลยียังขาดทุนเลย แต่ที่เขาอยู่ได้เพราะใช้วิธีให้รัฐอุดหนุน
ดังนั้น จีนกับญี่ปุ่นจึงมุ่งเน้นขายเทคโนโลยี กับรับจ้างผลิตแทน รวมถึงคอยขายอะไหล่ให้ประเทศต่างๆ
อยากทราบก่อนจะได้สร้าง ใครสนับสนุน ใครค้านหรือใครเป็นกลาง ถึงได้สร้างมาค่ะ
จีนคุ้มสุด ดอกเบี้ย ค่าเดินรถ ส่งของออกมาขาย เราส่งสินค้าเกษตรไปยังติดนั่นนี่
รถไฟความเร็วสูง มันไม่ได้มาแข่งกับเครื่องบิน ถ้า 700-800 กมขึ้นไป เดินทางโดยเครื่องบิน แต่ระดับ 600 กม ลงมาใช้รถไฟความเร็วสูง แทนรถยนต์ส่วนตัวรถโดยสาร เข่น นครสวรรค์ พิษณุโลก ลำปาง /สายอีสาน นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี เป็นต้น ไม่ใช่เจริญแค่เมืองเดียวที่เครื่องบินลง ถึงสถานีมีน้อยหรือไม่จอดทุกจังหวัด แต่ทุกสถานีก็มีทางคู่ รับช่วงผู้โดยสารเดินทางต่อ เปรียบเทียบ 600-800 กม เครื่องบิน 200-600 กม รถไฟความเร็วสูง 0-200 กม รถยนต์ เป็นระยะทางที่เหมาะสม /สำหรับทางคู่สามารถ ขนส่งสินค้าเข้าใกล้จุดแล้วต่อด้วยรถบรรทุกEV ไม่จำเป็นต้องใช้แบตารี่ใหญ่ เพราะวิ่งในระยะทางสั้นๆ การนำเข้าน้ำมันเพื่อการขนส่งก็น้อยลง
ญี่ปุ่นเขาก็ขาดทุนเรื่องค่าโดยสาร
แต่สิ่งที่รัฐบาลได้คือ เมืองพัฒนา กระจายความเจริญ นักลงทุนอสังหาริมทรัพย์มาลงทุนตามแนวรถไฟ สร้างงานตามแนวรถไฟ รัฐบาลเก็บภาษีได้มากขึ้น
จากการคำนวณด้วย Ai โดยใช้ข้อมูลทั้งหมดทั้งมวลและปัญหาต่างๆรอบด้าน คำตอบที่ Ai ประมวลผล คือ
-. คุ้มค่าอย่างมหาศาล ถ้าสร้างเสร็จเต็มระบบ 100% (เส้นทางทุกเส้น ทุกประเทศ เชื่อมโยงทุกสาย ตามที่ออกแบบไว้)
-. ตราบใดที่ยังสร้างไม่เสร็จเต็มระบบที่ได้ออกแบบไว้ ย่อมขาดทุนอยู่ตลอดเวลา การขาดทุนจะน้อยลงอยู่ที่การสร้างกี่ %. ยิ่งสร้างเสร็จมากเท่าไหร่ยิ่งขาดทุนน้อยเท่านั้น และ ถ้าสร้างเสร็จตั้งแต่ 70% การขาดทุนเป็นศูนย์ทันที (30%ที่ยังสร้างไม่เสร็จ หมายถึงประเทศที่ยังสร้างไม่เสร็จ และ ยังไม่เชื่อมต่อกัน)
สรุป. ถ้าระบบเส้นทางสายไหม สร้างเสร็จสมบูรณ์ เชื่อมโยงกันครบวงจร ทุกประเทศที่ช่วยกันสร้าง คุ้มค่าและได้ประโยชน์กันทุกประเทศที่ร่วมกันทำ ประโยชน์ที่สุดยอดที่สุดคือ “มีรายได้ที่มั่นคงถาวร”
เวลาเป็นหนี้จีน โวยวาย เป็นหนี้ ยุโรป ตบมือรัวๆ
คุณดูเงื่อนไขการกู้ด้วยหรือเปล่า หรืออะไรเป็นเงินก็เอาหมด
สายสีเขียว เรียกว่า กับดักฯ ได้หรือเปล่า?
อินเดียอยู่ๆข้างๆกันค้าขายกันมหาสารยังไม่ยอมให้รถไฟความเร็วสูงผ่านเลย ไทยทำรถไฟก็ได้แต่ขอพ่วง FTAสินค้าไทยไปจีนด้วยซัก20-30รายการระยะเวลาซัก20ปีได้ไหม?
ตอนนี้เราลงทุนทางคู่สายใหม่แล้ว เดนชัยเชียงรายเชียงของ 326 กม กับขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด มุกดาหาร นคร พนม 355 กม เป็นตัวอย่าง หนังฉายการลงทุนรระบบ รางที่ใหญ่ที่สุดรองจาก รถไฟความเร็วสูงของไทย เลย 55555 ผมว่า การเคลื่อนที่สินค้า กับ ผดส สําคัญ มากๆ และอาจดีกว่ารถไฟลาวจีนที่เป็นทางเดี่ยวเท่านั้นเอง
ทางเดี่ยว แต่ไฮสปีด ทำให้มันใช้เวลาบนรางน้อย ใช้รางได้คุ้มไง
@@alexlo7708 1.ไฮสปีดเทรน ไม่มีใครทำรางเดี่ยว
2.ลาวไม่ใช่ไฮสปีดเทรน
@@alexlo7708 โครงการรถไฟความเร็วสูงของไทยเป็นแบบรางคู่
ถามหน่อย สิ้นค้าจีนเข้าไทยได้ สิ้นค้าไทยเข้าจีนไม่ได้ แม่ค้า เกรษกร ตายเลยขายของไม่ได้ แล้วจะแก้ปัญหายังไง
ไม่ได้ทำเพื่อเอากำไร ทำเพื่อประชาชนครับ การรถไฟแห่งประเทศไทยก็ขาดทุนมาทุกปี ท่าอากาศยานแห่งประเทศไทยก็เหมือนกัน ขนส่งมวลชนกรุงเทพฯก็เหมือนกัน
เพื่อเป็นการพัฒนาประเทศ เราต้องก้าวให้ทันโลกครับ อย่ามัวคิดเรื่องกำไรขาดทุน มองดูในอนาคตครับ ประชาชนได้ประโยชน์ แรกๆอาจจะยังไม่ได้ พอถึงเวลาตรงนั้น อาจจะเป็นผลกำไรกลับคืนมา
ขาดทุคือกำไร
คุณพูดเอวในคลิปว่า :รถไฟขาด ทุน แต่ อย่างสร้างโอกาสให้อย่างอื่นมีโอกาสเจริญ และ ทำกำไรได้ เช่น อสังหา ฯลฯ
หากกู้มาแล้ว มีการบริหารเงินได้ ก็"ไม่ติดกับดักหนี้" แต่หากกู้มาแล้วเจอสถานการณ์ เช่น มีการปั่นค่าเงิน นั่นแหละคือติดกับดักหนี้
เพื่อเอากำไรในค่าของเงิน ซึ่งไม่เกียวกับการลงทุนในธุรกิจนั้น การบริหารค่าเงิน มีความสำคัญมาก ในธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ
ประเทศที่่อ่อนในเรืองนี้ อย่างไทยในปี 2540 ถูกโจมตีค่าเงิน ทำให้ไทยต้องติดกับดักหนี้ ไม่ต่างจากที่ ศรีลังกา หรือ ลาวเจอ
อย่าลืมว่า กับดักหนี้เกิดมาจาก การผูกค่าเงินกับทุนสำรองเงินดอลลาร์ ทำให้เห็นว่า #เงินดอลลาร์นั้นแหละที่สร้างกับดักหนี้😔
นี่คุณน้องการลงทุนต้องใช้เวลาคะ ไม่ใช่เปิดทำการแล้วจะได้กำไรเลยคะ และต้องมีการวางระบบป้องกันการโกงกินของข้าราชการให้ดีด้วยไม่งั้นจะขาดทุน เรื่องการวางระบบบัญชีด้านการเงินสำคัญมาก เพราะถ้าวางระบบดีโอกาสโกงกินยาก แต่ถ้าวางระบบหลวมจะเปิดโอกาสให้ข้าราชการทุจริตได้ เพราะฉะนั้นมีหลายปัจจัย จีนคงต้องค่อยๆศึกษา ไทยทำโครงการรถไฟความเร็วสูงเพื่อการส่งออกคะ ควบคุมบัญชีการเงินดีๆ ไม่ขาดทุนหรอก จริงๆแล้วรัฐบาลน่าจะมีการจ้างผู้ตรวจสอบบัญชีมาวางระบบนะคะ เวลาเปิดทำการรถไฟความเร็วสูง เพื่อป้องกันการทุจริต555
ถามหน่อยเครื่องบินอุ้มแพงๆ คนไทยแทบไม่ได้นั่ง ขาดทุนมหาศาล ทำไมยังลงทุนอยู่ แต่รถไฟคนไทยไม่ว่าดีมีจนก็ได้ใช้ ขาดทุนแต่ละปีมันจะสักเท่าไหร่
รถไฟฟ้าความเร็วสูงมีประโยชน์แน่นอน เพราะสามารถกระจายทั้งคนและทั้งสินค้าไปทุกภูมิภาค ทำให้เกิดการการพัฒนาเศรษฐกิจอยู่หลายประการ
1. สังคมไทยเข้าสู่ สังคมสูงวัยเราต้องพึ่งแรงงานจากลาวบางส่วนในนาคต
2. GDP ภาคอีสานอยู่ในอันดับ2ของประเทศรองจากภาตะวันออก ถ้าไม่นับรวมกรุงเทพ และประชากรเยอะ
3. พื้นที่เยอะแถมเป็นพื้นที่ราบ สามารถลุงทุนและทำโครงการใหญ่ๆได้
เหตุผลเหล่านี้ส่งผลต่ออุปทานในการลงทุนอสังหาเพิ่มมากขึ้น และจะมีการจ้างงานมากขึ้น รวมไปถึงการท่องเที่ยวทางโซนอีสานจะเพิ่มมากขึ้น
เรื่อง รฟส มันเป็นการบริหารกึ๋นครับว่าใครเก็บเกี่ยวได้มากที่สุด การสร้าง รฟส นั้นต้องมีการบริหารทั้งด้านพื้นที่ข้างราง ในสถานีจนกระทั้งบนอากาศ ให้ดูญี่ปุ่นเป็นตัวอย่างครับ แต่ถ้าอัดเม็ดเงินอย่างเดียวเหมือนที่ลาวทำมีแต่เจ๊งอย่างเดียวไม่ใช่ขาดทุน ลาวไม่มีโครงสร้างพื้นฐานหลายอย่างรองรับ เป็นได้แค่ทางผ่าน
มีรถไฟฟ้า หรือ รถไฟความเร็วสูง การนำเข้าน้ำมันลดลง การส่งออกสินค้าเกษตรทางรางไปทางยุโรปผ่านจีนทำได้เร็วขึ้นกว่าทางเรือ และประหยัดขึ้น ฯ
ถ้ามองแค่ได้กำไร
หรือขาดทุน มันคงจะเป็น
อุปสรรค ต่อการพัฒนา
ถ้ามองยาวๆใช้ได้
ชั่วโคตรถึงลูกถึงหลาน
มันดีแน่ อยู่ที่ว่าการบริหาร
จัดการมันต้องเป็นมืออาชีพ
ทำรถไฟมันขาดทุนอยู่แล้วแต่ที่จะได้กำไรคือการพัฒนาสองข้างทางรถไฟเป็นอสังหา
มันดึงดูดนักลงทุนส่วนหนึ่ง ถ้าเราไม่มี แต่คนอื่นมีเขาก็ไปลงทุนที่อื่น
ต้องติดตามต่อไป เพราะอะไรก็เกิดขึ้นได้ครับ
ไม่มีใครเก่ง ไม่มีใครอ่อนหรอก ไทยก็เก่งอย่างหนึ่ง จีนก็เก่งอย่างหนึ่ง จะมีใครเก่งได้ทุกอย่างกัน อย่าไปกลัวการเปลี่ยนแปลง ยอมรับ และปรับตัวซะ
+1
อย่าประมาท ดูสีหนุวิลลล์เป็นตัวอย่าง จีนมาแบบฝูงเอเลี่ยนน แล้วจากไปแบบซากปรักหักพังพินาศ
ระยะยาวคุ้มแน่นอน ต้องมองการณ์ไกลครับผม จีนขาดทุนเพราะสร้างเยอะไปใช้ทุนมหาศาลงทุนต่างประเทศด้วย
ประเทศที่เติบโตได้ ต้องเจออุปสรรคครับ ไทยมีการท่องเที่ยวที่ดีเอามากๆ รถไฟความเร็วสูง อาจจะไม่ขาดทุน และอาจจะกำไรมาก
น่าสน ติดดูแล้วมันน่าคุ้มนะ ไทยเราทำรถไฟแค่สุดเขตเราทุกภาคเชื่อมต่อกันหมดในประเทศ ไทยเรามีสถานที่ตั้งดี เพราะมีเขตแดนติดต่อเพื่อนบ้านหลายประเทศ ใครมาจากลาว เขมร พม่า เวียตนาม จีน จะไปมาเลย์ก็ผ่านไทย ..มาเลย์ อินโด ฟิลิปปินส์..ฯลฯ จะไปลาว เขมร ไปจีนก็ต้องผ่านไทยไปมากันอีกนั่นแหละ ..ไทยเราส่งแค่ชายแดน ที่เหลือก็ต่อรถไฟจากปท.เพื่อนบ้านไปกันเองก็แล้วกัน ..นี่กำลังคิดว่าถ้ามีรถไฟจริงก็น่าจะได้ขนคนมากกว่าขนสินค้าเสียอีกค่ะ
ทำรถไฟความเร็วสูงสาย สะเดา-แม่สาย ดีกว่าไหม?
จีนสร้างรถไฟความเร็วสูง เขาทำแล้วขาดทุนเพราะสร้างทางรถไฟให้ครอบคลุมทั่วประเทศ แล้วก็คงจะกะให้มีระยะทางรวมยาวที่สุดในโลกแบบอีกนานกว่าจะมีคนทำลายได้ ก็เล่นสร้างทางรถไปความเร็วสูงยาวหลายหมื่นกม.ในระยะแรกอาจจะขาดทุน แต่เนื่องจากมีประชากรเยอะที่สุดในโลก ระยะยาวคุ้มค่าแน่นอน ส่วนไทยเพิ่งเริ่มจึงสร้างเน้นจังหวัดสำคัญๆก่อน ระยะยาวก็ต้องขยายเส้นทางมากขื้น และเชื่อว่าจะคุ้มค่าแน่นอนครับ
มันคือการคมนาคมขนส่งจากรัฐ อย่าสนใจกำไร ขาดทุน
ความเห็นผมนะ สายสามสนามบินอาจจะคุ้มแต่สายอึ่นนั้นอย่าคิดเลย แค่รถไฟทางคู่ก็น่าจะพอ ญี่ปุ่นทำได้เพราะรายได้ต่อหัวสูง อย่างนั่งชินกันเซ็นมาทำงานที่โตเกียวนะทำได้ ส่วนไทยรถไฟฟ้าธรรมดาค่าโดยสารยังแพงมากเกือบทุกสาย
ถ้ามั่วแต่คำนึงถึงกับดักหนี้สิน อย่างงุ่นง่าน ก็จะไม่ต้องคิดทำหรือสร้างสรรค์อะไรกันแล้ว แต่โดยแท้จริงแล้ว ประเทศไทยสามารถลงทุนสร้างเองได้โดยไม่ต้องพึ่งเงินกู้จากต่างชาติ
โครงการรถไฟความเร็วสูง ช่วยกันมองด้านบวกเถิด
- ชาวไทยได้เรียนรู้เทคโนโลยี่ใหม่ๆรอบด้าน ถ้าไม่สร้างธุระกิจใหม่ๆแล้วจะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้อย่างไร
- การสร้างงานให้ประชากรไทยมีงานทำ คือหัวใจของการพัฒนาประเทศ
- ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับรถไฟฟ้าความเร็วสูงและพัฒนาสู่นโยบาย 4.0 พึ่งตนเองได้และต่อยอดผลิตเพื่อการส่งออก
- ช่วยส่งเสริมสนับสนุน การท่องเที่ยวประเทศไทยให้เจริญก้าวหน้าเป็นหน้าตาของประเทศศิวิไลย์
- สนับสนุนการเป็น Hub ด้าน Logistics ของภูมิภาคอาเชี่ยน
- ประมวลแล้วโครงการรถไฟฟ้าความเร็วสูงสามารถสร้างกำไรให้กับประเทศคุ้มค่ากับการลงทุน ทั้งที่เห็นเป็นตัวเงินและไม่เห็นเป็นตัวเงิน
Jr ญี่ปุ่น ยังขาดทุนเละเทะ กว่าจะกำไรแบบนี้ เราจะอึดแบบนั้นได้มั้ย ขาดทุน70ปี
แล้วแต่ประเทศด้วย ประเทศที่อีกหน่อยเป็นhubการท่องเที่ยวอย่างประเทศไทยจะดึงดูดจำนวนคนให้เพิ่มมากขึ้นเอง ถ้าเทียบกันแล้ว ลักษณะภูมิประเทศแบบไทยไม่เล็กไม่ใหญ่ไปและโครงข่ายที่เรียกได้ว่าขนาดใหญ่คลอบคลุมมีแต่ที่เดียวในโลก ใหญ่ไปแบบจีนสหรัฐก็ไม่ค่อยเชื่อมกับใครได้และครอบคลุมน้อย เล็กไปแบบสิงค์โปรถึงครอบคลุมแต่ก็ไม่หลากหลาย โครงข่ายเรามีทั้งพม่าลาวมาเลเซียเวียดนามสิงค์โปรจีนและสามารถเชื่อมไปยังมองโกลเลียรัสเซียยุโรปเกิดเป็นเส้นทางการท่องเที่ยวใหม่ที่มีไทยอยู่ท่ามกลางความสดใหม่ของแหล่งท่องเที่ยวที่ยังมีอนาคตได้อีกไกล เราเองก็ควรทำจุดเด่นทางแหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้นให้มากกว่านี้เช่น สถาปัตยกรรม วัฒนธรรม เราถึงจะได้ใช้โครงสร้างพื้นฐานของเราอย่างเต็มที่ ถ้าจะวัดรายได้ของระบบรถไฟความเร็วสูงมันอาจจะดูไม่คุ้มแต่ถ้ารายได้ทางอ้อมที่จะได้นั้นคุ้มยิ่งกว่าคุ้ม
ระยะเวลา เชียงใหม่-กรุงเทพ เครื่องบิน 1 ชม. รถไฟความเร็วสูง 3 ชม. ราคาตั๋ว น่าจะพอๆกัน ผมว่าคนไทยส่วนใหญ่น่าจะใช้เครื่องบินมากกว่า
รถไฟ ไฟฟ้า จุคนได้มากกว่า หลายเท่า
สำหรับไทย เรา ทำรางคู่ได้ ก็ถือว่าคุ้มและเหมาะที่สุดแล้ว
สำหรับความคิดส่วนตัวผม
เราวางตัวกับจีนแบบนี้ดีแล้วครับ
ราคา ตั๋วรถไฟที่จีน ถูกที่สุดในโลก เส้นทางรถไฟ หลายสาย หลายพันหลายหมื่นเส้นทางทั่วประเทศ เยอะแยะไปหมด เขาสร้างทางรถไฟ เพื่อประชาชนเดินทางสะดวก ไปถึงทุกแจทุกมุม ทุกเขตชนบท ไปมาง่าย สร้างทางรถไฟดีๆไว้ก่อน(กำไรยังไม่อยากคิดตอนนี้)เพื่อให้คนในเมืองทยอใช้รถไฟไปอาศัยอยู่ชนบทที่มีโรงงาน ในเมืองแออัด และเพื่ออนาคตของประชาชนใช้ทางรถไฟไปมาหาสู่ให้สะดวกสบายไว้ก่อน
สาธารณูปโภค จะใช้ทดแทนคำว่าขาดทุน คุ้มหรือไม่ ขอให้ผู้รับเหมามีงานก็แล้วกันครับ
ถ้าพูดถึงเอาแค่สร้างเสร็จแล้วปล่อยให้เศรษฐกิจเติบโตแบบไร้ทิศทางเองก็น่าจะใช้เวลาราว30ปีถึงคุ้ม ขึ้นกับปริมาณคนใช้ด้วยถ้าน้อยกว่าคาดมากๆเวลาความคุ้มก็ยืดออกไปอีกเช่นถึง50ปี ปัญหาใหญ่คือโลจิสติคส์ไทยเสียเปรียบต้นทุนสูงต้นๆของโลก ถ้าสร้างเสร็จแล้วต้อวมีเพิ่มความรับผิดชอบในการผลักดันการใช้งานเยอะๆด้วยมันน่าจะเห็นอนาคตดีกว่าไม่ใช่แค่สร้างเสร็จแล้วก็ทิ้ง...
เราต้องคอยดูไปก่อนสิค้ะรถไฟรางคู่.ถ้าเสร็จเมื่อจ่ะขึ้นค่ะ
อะไรกัน คนแน่นทุกขบวน....ช่วงสร้างใหม่ๆ ก็ขาดทุนเป็นธรรมดา กำไรจะมาหลังจาก 5 ปี ไปแล้วนะ......
พูดกันตรงๆ โครงการนี้แม้จะเป็นประโยชน์ต่อไทยและภูมิภาค ทั้งในการขนส่งสินค้าและการท่องเที่ยว แต่เอาเข้าจริงๆ แล้วชาติที่ได้ประโยชน์มากที่สุดก็คือจีนนั่นแหละ เพราะช่วยให้จีนใช้ประเทศไทยเป็นทางออกไปสู่มหาสมุทรอินเดียและผ่านไปทางอ่าวไทยได้รวดเร็วขึ้น และช่วยลดต้นทุนให้กับจีนอย่างมหาศาล
การสร้างทางรถไฟความเร็วสูงประโยชน์มากมายมหาศาล
แต่ในทางกลับกัน มีสิ่งน่าพิจารณาประกอบ
- มีการใช้และทำลายทรัพยากรธรรมชาติมหาศาล จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม(น้ำท่วม ภัยแล้ง พายุครั้งใหญ่) หรือไม่
- เราจะเอาเงินทุนมาจากไหนมากมายมหาศาลในขณะที่หนี้สาธารณะท่วมนองอยู่
หากลงทุนร่วมกับจีน จีนจะเอาเปรียบไทย เราจะหาทางออกอย่างไร
อย่าลืมว่าเรากู้จีน จีนทวงหนี้ ดอกเบี้ย เราจะเอาจากไหนไปคืนให้เขา
- จีนเป็นแหล่งผลิตทุเรียน ผลไม้ ผัก จีนจะเข้ามาตีตลาดไทย
ต่อไปสินค้าเกษตรไทย ขายไม่ออก จะแก้ปัญหาอย่างไร
- เราทราบหรือไม่ว่า จีน ลาว ทำแล้วขาดทุน และเขาตั้งรับสถานการรณ์อย่างไร
ถ้าของเราเหมือนเขา จะมีมาตราการรองรับด้วยวิธีใด
มองยากจีนมันจะขนของมาขายให้ไทย แต่ก็มีพืชบางชนิดที่จีนไม่ปลูกพอส่งไปขายแต่ก็ไม่คุ้ม ส่วนด้านอื่นๆก็เสียเปรียบจีนอยู่ดี
คุณคิมไม่รู้หรือครับ ว่าโครงการที่ต้องการสร้างความเจริญให้กับประเทศอย่างก้าวกระโดด รัฐบาลทุกประเทศต้องรับการขาดทุนเพื่อเพิ่มโอกาสและความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจและความรวดเร็วในการพัฒนาประเทศ ทุกประเทศทั่วโลกก็เป็นแบบนี้ การเป็นหนี้แต่ก่อให้เกิดโอกาสและความก้าวหน้าเป็นสิ่งที่สมควรทำ แต่ถ้ากการเป็นหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่ออนาคตของประเทศก็ควรหลีเลี่ยง ผมทำนายไว้เลยว่าอีกไม่นานทั้งเวียดนาม กัมพูชา และลาวจะเจริญเท่าเทียมกับไทยเพราะรถไฟฟ้านี่แหละ ถ้าลาวคิดแบบเดิมคือกลัวเป็นหนี้แล้วไม่คิดจะสร้างความเจริญให้ประเทศเลย คงอีกนยานที่จะตามไทยได้ทัน คำว่า"กับดักหนี้" ต้องใช้กับประเทศที่กู้มาแล้วประเทศไม่ได้พัฒนาเลย แต่ถ้ากู้มาแล้วสร้างโอกาสและความสามารถทางเศรษฐกิจให้กับประเทศต้องเรียกว่า หนี้ที่ก่อให้เกิดความเจริญครับ
เขารู้ครับแต่แนวความคิดเขาจะเอียงไปทางอำนาจเก่า
คุณรู้มั้ยว่า ลาวและหลายประเทศที่กู้จีนมาลงทุน กำลังปวดหัวกับหนี้อย่างหนักหน่วง ไม่รู้ว่าจะรอดจากหนี้อย่างไร แต่ที่พูดไม่ได้หมายไม่เห็นด้วยกับการสร้าง แต่เราสร้างที่กำลังเราไหว ที่กำลังทำอยู่ก็ดีแล้วครับ
@@คิงคอร์ดี้ มันไม่เกี่ยวว่าจะกู้ใคร ไม่ว่าจีน หรือ IMF มันขึ้นอยู่ที่ว่ามีปัญญาใช้หนี้เขาหรือไม่ ก็เหมือนเราไปกู้ไฟแนซ์ซื้อรถ เมื่อไม่มีปัญญาส่ง เพราะไม่ประมาณตัวเอง แล้วไปโทษไฟแนนซ์ที่ให้กู้หรือ ทำไมไม่โทษตัวเอง
@@อริยะกําพรศรีรักษา-ต4จ ใช่เลย คิดทางเดียวกัน เราควรประมาณตน นี่แหละสำคัญเลยครับ
@@คิงคอร์ดี้ ครับ
BTS สายสีเขียวช่วงไข่แดง ยังขาดทุนอีกหรือครับ
ระยะยาวคุ้มอยู่แล้วครับ ถ้าไม่ทำตอนนี้สิมันจะแพงในอนาคต ประเทศไทยมีการขนผลผลิตทางการเกษตรและที่สำคัญคือการขนคน โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวต่างประเทศ
รู้สึกว่า เจ้าของช่องต้องหาข้อมูลและความรู้ เพื่อมาทำคอนเทนที่ให้ข้อมูลรายละเอียด ข้อเท็จจริงอีกเยอะมาก หวังว่าการทำคอนเทนจะให้จ้อมูลเท็จจริงที่ดีที่สุดสำหรับผู้เสพสื่อ อย่างเราๆ
รบกวนคุณช่วยเสริมหน่อยครับ ข้อมูลตรงไหนที่เขาต้องหาเพิ่ม คนผ่านมาอ่านจะได้รู้ด้วยครับ
คุณรู้มาก แล้วคุณมีช่องมั้ยคะ มีผู้ติดตามกี่คนคะ ขอลิ้งก์ด้วยค่ะ จะได้ไปตาม
หรือที่ผ่านมา
คือ กับดักรถยนต์ส่วนตัว
ถ้าหวังผลกำไรระยะสั้นคงไม่มีทาง แค่ผลประโยชน์ระยะยาวมีแน่
่ส่วนรถไฟฟ้า กทม.เป็นส่วนหนึ่งของสาธารณโภคพื้นฐานสำหรับประชาชน หวังผลกำไรคงยาก แต่ประชาชนได้ประโยชน์มาก
อย่าหลงคารมจีนเลย จีนมันรู้ระบบการเมืองเรา จ่ายจบ ผ่านสบายๆ อย่าลืมว่าแค่ไม่มีเส้นทางรถไฟ เราก็ขาดดุลการค้ากับมันมาก แค่ของไปด่านจีน ก็โดนกักตรวจโน้นตรวจนี้ พอของมันมาไทยผ่านสบาย ๆ ฝากไว้ให้คิด คบกับจีนต้องฉลาด และต้องคำนึงถึง ภาพรวมภายในประเทศด้วยที่ ปชช. ได้รับผลประโยชน์จากตรงนี้ ไม่ใช้กระจุกอยู่ไม่กี่กลุ่มน่ะจ๊ะ
บวกลบคูณหารแล้ว..คุ้มที่จะทำแน่นอน เชียร์ครับ
ลาวกลัวขาดทุน ไม่พอใช้หนี้จีน จึงใช้วิธีให้จีนเป็นเจ้าของ70%
รถไฟลาว ไฟฟ้าลาว แต่ให้จีนเป็นผู้จัดการ อันตรายมากครับ
เอาจริงนะ จีน 70% ลาว 30% ใน 30% ลาวก็กู้จีนอีกที
@@streetfighter1467 ครับ วิกฤตเศรษฐกิจในลาวทุกวันนี้ก็เจ้า 30% ที่กู้มานี้แหละครับ ^_^ii
กำลังจะถูกจีน takeover ประเทศแล้วล่ะ อีกหน่อยทุกคนจะต้องเรียนภาษาจีน น่ากลัวมากขอบอก
อินโดนีเซีย. ก็กู้จีนเหมือนกัน
ส่วนไทย ไม่ได้กู้จีน. ออกเงินเอง ไม่ติดกับดักหนี้จีน แถมได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี
การเดินทางที่ดีเพื่อประชาชน จะหวังแต่กำไร ก็ไม่ได้ ขาดทุนก็ต้องหารายได้อื่นมาชดเชยครับ
ถ้ามีรถไฟความเร็วสูงแล้วค่าใช้จ่ายถูกกว่าเครื่องบินเรท500-800ต่อคน ผมว่าคุ้มนะ เหนือ-กลาง/กลาง-ใต้/กลาง-อิสาน รับรองเวลาคนกลับบ้าน ใช้รถไฟฟ้าความเร็วสูงแน่นอน
ได้ความรู้ดีคับ แต่พูดเร็วเกินไป ลดสปีดลงหน่อยจะดีมาก
มันขาดทุนอยู่แล้วจากการประเมิน ดูสาย 3 สนามบินก็ได้ CP คำนวณแล้ว ขาดทุน รัฐก็รู้ เลยต้องแถมที่ดินมักกะสันไปให้ ดังนั้นสาย กรุงเทพ-หนองคาย ขาดทุนแน่นอน แต่คนไทยเห็นรถไฟความเร็วสูงเหมือนของเล่น พอต้องใช้งานจริง จะมีสักกี่คนที่ใช้ เจอคู่แข่ง ทางคู่ ทางด่วน โลว์คอสต์ ต้องวิ่งดูว่าจะขาดทุนปีละเท่าไหร่
เอกชนสร้างเมืองที่ฉะเชิงเทรารองรับด้วยเขาจึงมองว่าภาพรวมไปไหว รถไฟความเร็วสูงมันต้องพึ่งเมืองใหญ่ที่สัมพันธ์กับระยะทางที่ลงทุนสร้าง
คนจนเมืองไทย 70% ค่าโดยสารความเร็วสูง แพงสำหรับคนไทยทั่วไป ผมเคยนั่งรถไฟความเร็วสูง ที่จีน วิ่ง เกือบ 300 กิโล แค่เร็ว แต่ไม่เห็นวิว ข้างทาง ผมชอบรถไฟวิ่ง ความเร็วปางกลาง นั่งชมวิว
Lao willing learn their experience!!!
Hope there's successful !!!
ตามครับ❤
น้ำมันแพง ภาษีรุถแพง ลดสร้างถนน ทำรุถไฟ 160 กม/ชม ค่าโดยสารและขนส่งถูกก็จะไปได้
สมัยนี้ เขาไม่ใช้กำลังทหารยึดกันแล้วครับ เขาใช้วิธีปล่อยเงินกู้ระดับแสนล้าน หรือหลอกให้ร่วมลงทุนร่วมกัน แล้วทำให้ธุรกิจเจ๊งแล้วขอซื้อหุ้นทั้งหมด จนในที่สุด ท่าเรือใน ศรีลังกาถูยึด 2แห่ง (สัญญา 99ปี)...ประเทศในแอฟริกาถูกยึดท่าเรือ 2แห่งไป สองประเทศ โดยจีน...ตอนนี้ลาวก็กำลังถูกบ่วงหนี้เริ่มรัดคอแล้ว และไม่มีทางดิ้นหลุด สุดท้ายรถไฟฟ้าความเร็วสูงจะถูกจีนยึด....แต่จีนจะไม่ให้ลาวจนตรอก จีนจะให้ลาวไม่ล้มละลาย จีนจะค่อย ผ่อนปรนหนี้สินให้ลาวอยู่ได้ แต่ไม่ล้มละลาย เพราะจีนยังต้องอาศัยลาวเป็นทางผ่านไปหลอกต้มตุ๋น เวียดนากับเขมรต่อ...ส่วนไทย จีนเลิกคิดได้ ...เพราะ..ไทยรวย มีทองคำสำรองระหว่างประเทศ เป็นอันดับ 21 ของโลก จาก 198 ประเทศทั่วโลก...และไทยรู้ทันจีนมานานแล้ว เพราะเศรษฐีไทยเชื้อสายจีน เขียนเตือนไว้เมื่อ40ปีที่แล้ว ว่าให้ระวังจีนยุคใหม่ จะใช้เงินกู้หลอกยึดประเทศ การยึดประเทศ ไม่จำเป๋นต้องครองครอง..แต่ประเทศที่เป็นลูกหนี้ ก็ไม่ต่างจาก ประเทศราช เพียงแต่เครื่องบรรณาการสมัยใหม่ ก็คือ ดอกเบี้ย นั่นเอง