ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (General relativity)︱Sophia Podcast EP.4

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 26 гру 2024

КОМЕНТАРІ • 54

  • @thanat245
    @thanat245 Місяць тому +7

    ผมดูหลายคลิปในรูปแบบภาษาไทย แต่คลิปของ อจ ปิยบุตร บุรีคำ .. อธิบายได้เข้าใจง่าย เห็นภาพ แตกต่างจากคนอื่นอธิบาย ... อจ อธิบายได้เข้าใจง่ายๆ รู้จริงกว่าคลิปอื่น ขอบคุณคับ
    ( แบบคำคม ไอน์สไตน์เลย หากอธิบายให้คนอื่นเข้าใจไม่ได้ แสดงว่าเรายังเข้าใจไม่พอ คือ อจ ปิยบุตร เข้าใจแท้ เลยอธิบายให้ผมรุ้เรื่องไปได้ )
    ผมคิดได้ว่า หากให้ผมอ่านภาษาอังกฤษ ... ทักษะภาษาอังกฤษผมคงไม่มีวันที่จะเข้าใจได้ถูกต้อง ( และยิ่งภาษาอื่นอีกล่ะ เยอรมันล่ะ )
    คิดแล้ว คือ จริงๆ ภาครัฐ .. ควรสนับสนุน ให้นักวิชาการที่เก่งหรือมีศักยภาพชัดๆ แบบ อจ.ปิยบุตร แปลความรู้ต่างๆ ให้เป็นภาษาไทย ... สุดท้าย คนแบบผมก็เข้าใจไปด้วย คือได้มีความรู้ไปต่อยอดกัน
    คือ ผมจบวิดวะ แต่อุปสรรคผมคือ ภาษาอังกฤษไม่ดีพอ แต่ผมควรได้ความรู้ดีๆ มาทำงาน จะหวังให้ผมอ่าน text book มันก็กลายเป็นตัวด้อยศักยภาพเราไป
    คือ ผมเคยเห็นอจ. วิดวะของผม แกจบ ญี่ปุ่น แก่เอาตำราญี่ปุ่นมาอ้างอิง ... ผมเลยเดาว่าแบบนี้ ญึ่ปุ่นจึงเจริญ คือให้ทุกคนเข้าถึงความรู้ แบบไร้อุปสรรค

  • @sjmcofficial
    @sjmcofficial Місяць тому +1

    โคตรดีเลยครับ อย่าหยุดทำนะครับ สำหรับคนที่ชอบทั้ง ประวัติศาสตร์ และฟิสิกส์ ฟินสุดๆ ภาพประกอบอะไรไม่ต้องมากครับเพราะเป็น podcast แค่ฟังอาจารย์บรรยายก็เห็นภาพล้ะครับ

  • @nedstark9238
    @nedstark9238 Місяць тому +10

    อันนี้อาจจะนอกเรื่อง แต่ใครที่ชื่นชอบหรืออยากดูเป็นซีรีย์เกี่ยวกับชีวิตไอสไตน์ผมแนะนำซีรีย์ชื่อเรื่องว่า Genius : Albert Einstein จาก National Geographic จะเล่าตั้งแต่เด็กจนโตเลยว่าเป็นคนแบบไหนยังไง รวมถึงการค้นพบทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปด้วย เหมือนที่อาจารย์เล่าเปี๊ยบเลย ใครสนใจแนะนำมาก ๆ ครับ ไม่ควรพลาดเด็ดขาด

    • @pine1150
      @pine1150 Місяць тому +1

      มีลิงค์ไหมครับ

    • @MUSMOONCH
      @MUSMOONCH Місяць тому +1

      ผมเคยดูเขาทำดีมาก ดูเเล้วเข้าใจถึงเเม้จะไม่เข้าใจ

    • @nedstark9238
      @nedstark9238 24 дні тому

      @@pine1150 ค่อนข้างหายากหน่อยครับ อาจจะต้องลองสมัคร Apple TV หรือ Prime Video ครับ

    • @nedstark9238
      @nedstark9238 24 дні тому

      @@MUSMOONCH สนุกดีครับ ทำให้รู้เรื่องเกี่ยวกับชีวิตไอสไตน์อีกเยอะเลย ยิ่งดูก็ยิ่งนับถือจริง ๆ

  • @clip2eye
    @clip2eye Місяць тому +4

    คอนเทนต์และอาจารย์พูดได้เข้าใจง่าย / ถ้ามีภาพประกอบมากขึ้นจะดีมากๆ เลยครับ

    • @Amarinbooks
      @Amarinbooks  Місяць тому

      ขอบคุณสำหรับคำแนะนำมากๆ เลยนะคะ💖💖

  • @kram7046
    @kram7046 22 дні тому

    ชอบมากค่ะ นั่งฟังสนุกมากกก

  • @panyakorntaweechat8586
    @panyakorntaweechat8586 Місяць тому +1

    อยากได้ podcast ทฤษฎีสนามควอนตัม (QFT) และก็ standard model มากครับ
    ผมได้ยินมาว่า QFT มันยากพอๆกับทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป แต่ยากคนละแบบกัน

  • @พุทธะนอกวัดฟิสิกส์นอกตํารา

    รอแป้บบ ทฤษฏีสนามรวมกะลังมา​ ยังเขียนสมการอยู่

  • @sayompooj4280
    @sayompooj4280 Місяць тому +1

    เย้ๆๆมาแย้ว🎉🎉🎉

  • @kimmel3769
    @kimmel3769 Місяць тому

    ขอบคุณนะครับ ❤️❤️

  • @hahahaenter9597
    @hahahaenter9597 Місяць тому

    ชอบมากครับ

  • @pongsakareesawangkit9724
    @pongsakareesawangkit9724 Місяць тому

    ขอบคุณครับ

  • @เทอดชนถนอมวงศ์-ม5ฏ

    ทฤษฎีสัมพัทธหรือสัมพันธภาพคือสัมพันระหว่างสิ่งของซึ่งไอสไตน์จำกัดเฉพาะกาลหรือเวลากับอวกาศหรือจักรวาลเท่านั้น ซึ่งความจริงสิ่งของในจักรวาลมีมากมายและมีความสัมพันกัน ทฤษฎีนี้ต้องเปลี่ยนเป็น "ทุกสิ่งทุกอย่างในจักรวาลมีความสัมพันกัน".

  • @chevasit
    @chevasit Місяць тому

    Good 👍

  • @un_name_present_diary7247
    @un_name_present_diary7247 Місяць тому +1

    สนุกมากครับ รอตอนต่อไปเลย

    • @Amarinbooks
      @Amarinbooks  Місяць тому

      ฝากรายการนี้ด้วยนะคะ

  • @แอบดูที่รู้ดิม-ศ8ล

    ชอบฟังนะครับมีความรู้ดี...แต่โฆษณาเยอะเกินครับ

  • @อนุจิตย์ศิริสถิตย์-ด7ฟ

    ครายการวิ้งเผ็ดนั้นนะครับ

  • @werashine277
    @werashine277 Місяць тому

    ขอบคุณการอธิบายด้วยญาณปัญญาที่สนุกมากๆ ครับ

    • @Amarinbooks
      @Amarinbooks  Місяць тому

      ขอบคุณมากๆ เลยนะคะ💖💖

  • @palerpater
    @palerpater Місяць тому +3

    มีหลายช่วงมากๆ ที่ไม่เคยได้ยินที่ไหนกล่าวไว้มาก่อน ขออนุญาตฟังโดยยังไม่ปักใจเชื่อครับ

    • @วชิรวชิร-ด7ค
      @วชิรวชิร-ด7ค Місяць тому

      ผมเคยได้ยินมาหลายที่นะคับ แต่ส่วนมากช่องที่นำเสนอเขาจะกลาาวข่ามสะส่วนใหญ่ แต่ที่ผมเคยได้ยินมา ไม่ใช่อาจารย์ แต่เปนเพื่อนที่เคยร่วมชั้นเรียน ให้มาสร้างเลขาคณิตให้

    • @alejandrogon1719
      @alejandrogon1719 Місяць тому

      ดี เเล้ว ที่ไม่ปักใจเชื่อ
      เเต่จะสรุปให้ฟังนะ มันแค่ยากเกินกว่าที่คุณจะเข้าใจ เพราะมีหลายช่องYTพูดเรื่องนี้มาหลายปีเเล้ว
      คุณเเค่ไม่เก่งพอที่จะไปฟังที่เค้าอธิบายเป็นภาษาอังกฤษ
      In conclusion, you aren't smart enough. simple haha

    • @nedstark9238
      @nedstark9238 Місяць тому

      มีอะไรบ้างหรอครับ ที่ท่านไม่เคยได้ยินที่ไหนมาก่อน อยากรู้

    • @SB-pk6ul
      @SB-pk6ul Місяць тому +3

      เรื่องฟิสิกส์พวกนี้ เหมือนเรื่อง ในอนาคตกรุงเทพจะจมน้ำครับ
      มันไม่ใช่เรื่องเชื่อหรือไม่เชื่อ หลักฐานทุกอย่าง มันพิสูจน์แล้วว่าจริง

    • @panyakorntaweechat8586
      @panyakorntaweechat8586 Місяць тому

      หมายถึงตัวทฤษฎี หรือประวัติสาสตร์ระหว่างไอน์สไตน์พัฒนาทฤษฎีละครับ
      ถ้าตัวทฤษฎี มันอยู่มาร้อยกว่าปี แล้วมีนักฟิสิกส์จำนวนมากพยายามจะแย้ง แต่ก็ล้มล้างไม่ได้ซักที เพราะมันถูกพิสูจน์แล้วว่าใช้ได้จริงจากการอธิบายตำแหน่งและเวลาของระบบ GPS และดาวเทียมได้แม่นยำ รวมถึงอายุของฝาแฝด 2 คนที่ไม่เท่ากัน เมื่ออยู่ในสถานีอวกาศกับบนโลก

  • @อนุจิตย์ศิริสถิตย์-ด7ฟ

    ผมโกรธอาจารย์เลยเข้าใจรู้สึกเป็นไรเพื่อสิ่งที่ดี่ต้องทำและยอมครับเจ็บคู่ครับ😅

  • @komolkovathana8568
    @komolkovathana8568 Місяць тому

    เหนือสิ่งอื่นใด..แสง/โฟตอน ไม่มีมวล( Massless) ให้ดึงดูด.. ไม่ว่าดาวยักษ์นั่น จะมีขนาด/มวล ใหญ่โตแค่ไหน

    • @swangleewatanakarn7701
      @swangleewatanakarn7701 Місяць тому +1

      หลุดออกมาจากนิวตันให้ได้ก่อน แล้วจะเข้าใจ

    • @AnfaJoy
      @AnfaJoy 26 днів тому

      แสงคือคลื่นความถี่ช่วงหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าครับ และโฟตอนคือโปซอนนำพาแรงในสนามพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า เมื่อมันเป็นโบซอนมันจึงไม่มีมวลหยุดนิ่งเหมือนเฟอร์มิออน แต่ผลโดยรวมของพลังงานของมวลมีประจุที่สั่นหรือเคลื่อนที่ในสนามพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าไม่เป็นศูนย์ฉะนั้นจึงยังได้รับผลจากความโน้มถ่วงอยู่ครับ...
      ถ้าพิจารณาตาม ทวิภาคลื่น-อนุภาค แสงคือปริมาณเวกเตอร์ที่เป็นตัวบอกความยาวคลื่นและทิศทางการแพร่กระจายครับ...😂😂

    • @軽お朝なぎ
      @軽お朝なぎ 24 дні тому

      แม้ว่าจริงๆแล้วความโน้มถ่วงจะไม่ได้มีผลกับแสงหรือโฟตอนโดยตรงเนื่องจากตัวโฟตอนนั้นไม่มีมวลแต่มันก็ยังทำให้ปริภูมิเวลาเกิดการโค้งงอ ยกตัวเช่นหลุมดำอนุภาคแสงที่หลุดเข้าไปในขอบฟ้าเหตุการณ์ก็จะถูกขังและเคลื่อนที่ไปรอบๆโดยไม่สามารถออกมาได้

    • @AnfaJoy
      @AnfaJoy 24 дні тому

      @軽お朝なぎ นั้นแหละผลโดยตรงเลยครับ ความเร่งโน้มถ่วงที่หลุมดำกระทำต่อแสง(ควอนตัมโฟตอน)มันมีค่ามากกว่าความเร็วคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสูญญากาศ(แสงไม่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่แต่เกิดจากการเหนี่ยวนำระหว่างสนามแม่เหล็กกับสนามไฟฟ้า ที่เรียกว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า)

    • @軽お朝なぎ
      @軽お朝なぎ 24 дні тому

      @@AnfaJoy ความเร็วของโฟตอนหรืออนุภาคแสงในสูญญากาศมันยังคงเป็นค่าคงที่ ความโน้มถ่วงของปริภูมิเวลารอบหลุมดำอาจจะมีผลต่อเส้นทางการเคลื่อนที่ของแสง โดยมันจะทำให้แสงไม่สามารถหนีออกจากหลุมดำได้เมื่อข้ามขอบฟ้าเหตุการณ์ไปแล้ว แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความว่าความเร่งโน้มถ่วงมากกว่าความเร็วแสงชะทีเดียว

  • @อนุจิตย์ศิริสถิตย์-ด7ฟ

    อ๋อผมแค่มวยลองและลองเครื่องมือ

  • @BenzTv-f6g
    @BenzTv-f6g 14 днів тому

    Dna=BenZzz

  • @kokowakimizumida1169
    @kokowakimizumida1169 Місяць тому

    อยากให้ลงพอดแคสในช่องทางอื่นนอกจากยูทูปอย่างในสปอติฟายหรือใน apple podcasts เพิ่ม

  • @อนุจิตย์ศิริสถิตย์-ด7ฟ

    ถูกแล้วครับเราจึงจะต่อยอดสิ่งขาดหายหาจุดไม่ได้😅

  • @PbigPbig-g9z
    @PbigPbig-g9z 28 днів тому

    พี่ผู้หญิงหัวดีมากครับฟังแล้วเข้าใจได้โคตรไว

  • @อนุจิตย์ศิริสถิตย์-ด7ฟ

    เยี่ยมเลยครับผมมันต้องแบบนี้นัคฟิคสผิดไดต่อยได้คือการพัฒนาการบันดิต

  • @อนุจิตย์ศิริสถิตย์-ด7ฟ

    ยังไม่ใครเดินหน้าต่อยอดได้แต่ถ้ารวมกันอาจเห็นได้ทุกมิติครับผม