SRT.
Вставка
- Опубліковано 2 лис 2024
- SRT. #รถไฟใส่ถ่านกลับจากทดสอบ ขบวนรถพิเศษทดลองรถจักร EV พลังงานไฟฟ้าแบตเตอรี่ จากโคราชกลับถึงบางซื่อ
** บันทึกและถ่ายทำเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2567 **
#รถไฟ #รถไฟไทย #Train #Thai #Thaitrain #Thairailway #火车 #列車 #기차 #keretaapi
ดีคับ
ดีๆมากพัฒนาต่อไป อยากให้ใช้แบตเตอรี่เกลือของเราทีผลิตได้จะดีมาก
ดีครับ.....ถ่ายภาพได้ชัดเจน...สวยงาม....มุมกล้องสวย....รายละเอียดดี....ที่ยังขาดคือ พยายามบอกกันหน่อยว่าหัวรถจักรแบบนี้คือย่ื่ห้ออะไร ของประเทศไหน ซื้อมากี่ปีแล้ว ประวัติความเป็นมา ก็จะเป็นประโยชน์กับผู้ดูทุกคนครับ......ขอบคุณครับ......
คุณลองพิมค้นหาคำว่า รถไฟไทยทำ ดูนะครับ
QSY locomotive หายไปไหนหมดครับ
เสียงดังพอป่านคอปเตอร์
Is that Battery Locomotif from CRRC ???
เสียงอินเวอร์เตอร์ วิ๊ง ๆ เบากว่า อินเวอร์เตอร์ของรถจักรดีเซลเลยนะ
น่าจะมีข้อจำกัดเยอะพอสมควรเห็นทดสอบมานานแล้วไม่คืบหน้าเลยว่าจะผลิตเชิงธุรกิจได้มั้ยพอๆกับสุดขอบฟ้ายังมีปัญหาพอสมควรยังวิ่งจริงไม่ได้เลย
มีเยอะไม่ดี ขาดทุนทุกวินาที แต่ละคนเงินเดือนเป็นแสน หรือเกือนแสน ขี่ฟรีหมดครอบครัว โบนัส ปีละหลายร้อยหลายพันล้าน บริหารไม่ดี เหมือนการบินไทย สร้างไปเลยแต่ไม่ส่งเสริม
น่าจะทำหลายๆ ตัว และน่าจะเอามาใช้ได้เสียทีค่ะ ที่ซิดนีย์ รถรางของเค้ามีบางช่วงที่เขาก็เอาแพนโทรกราฟออกแล้วให้รถวิ่งด้วยแบตเตอรี่เหมือนกัน แสดงว่า ถ้าเราทำให้มีการชาร์ตเป็นระยะ ๆ ไปเรื่อยๆ รถจะสามารถวิ่งไปได้ไกลมาก ๆ ก็ได้ค่ะ
4106 ทำสีมาใหม่เอี่ยมสวยเลยไอเสียใสกิ๊ก MTU รุ่นนี้ดี ไม่เหมือนของ QSY มาใหม่ๆ ก็ควันดำเลย ตั้งแต่ QSY มาเสริมทัพทำให้อัลสตอมมีเวลาไปซ่อมบำรุง ทำสีใหม่
ถือเป็นก้าวหน้าครั้งใหญ่ของรฟท. แต่ส่วนตัวผมยังเห็นด้วยกับระบบสายไฟ + pantograph มากกว่า
SRT 5222 is the better train than the other. Where is the destination that train??? Almost from Rangsit station from or to Hua Lam Phong, in center Bangkok???
อยากให้รถจักรไฟฟ้า EV สับเปลี่ยนโบกี้แบตสำรองเพาเวอร์แบงค์ ทุกๆ 300 กิโลเมตร ขึ้นอยู่ที่ความจุ ไว้สำหรับวิ่งขบวนไปสถานีต่างจังหวัดหลักๆ แบบวิ่งไกลต่อเนื่อง อย่างเช่น สถานีกรุงเทพอภิวัตน์-เชียงใหม่-อุบลราชธานี แบตที่ใกล้หมดชาร์จสถานีต่างจังหวัด รอรถจักร EV คันอื่นสับเปลี่ยนวิ่งใช้งานต่อครับ
อยากให้เปลี่ยนหัวรถจักรเป็นไฟฟ้า
จะได้ใช้จริงกี่โมง
สมัยนี้ไม่มีใครขึ้นไปนั่งบนหลังคา
เมื่อตรุษจีนปี2529ผมเคยนั่งบนหลังคาจากหัวลำโพงถึงสุรินทร์เลยครับ
ใส่ถ่านตรงไหน
หัวรถจักรสีเขียว EV ใส่แบตตารีตรงท้ายคลิป
เดี๋ยวก่อนนะวันก่อนที่นั่งข.102 มา 3 EP ไปเลงที่อุตรดิตถ์แล้วทำไมไม่ถ่ายที่อุตรดิตถ์
พี่เขาถ่ายเมื่อ30มกราคมครับ
ผมว่า รถไฟใส่แบต อาจจะ ใช้งานได้สัก 10-20 ปี
.....ระบบ ไฮโดรเจน
.....น้าจะมาแทนที่ได้
.....ที่แน่ๆ ระบบน้ำมันดีเซล
......คงไม่ใช่แผนระยะยาว
......เพราะ ต้องมีจุดเข้าอุโมงค์ เยอะขึ้น
.....ควันรถ จะเหม็น
ทดสอบอีกกี่ปี
รถไฟ ไฟฟ้าแบบแบตตารี่ ผมว่าดีนะ แต่หลังใช้ไป5ปีไปแล้ว ค่าใช้จ่าย และการดูแลระบบ ต้องคิดตรงนี้ด้วย ไม่ง่ายนะ
ยีงไงก็คุ้มกว่า รถไฟฟ้าแบบมีสายส่งกำลังไฟ เพราะต้องลงทุนสร้างเสาไฟอีกเป็นพันกิโลตลอดเส้นทาง ใช้งบอีกมหาศาล
รถไฟฟ้าแบตเตอรี่ ใช้แค่รางก็วิ่งได้แล้ว เอาเงินที่จะสร้างเสาไฟเก็บไว้ซ่อมบำรุงได้เป็นร้อยๆคัน หลายสิบปี
❤❤❤ใจเลยค่ะ
ถ้ามัวแต่กลัวก็ไม่ต้องทำอะไรกันพอดี จะไม่มีการพัฒนาเลยครับ
@@anuchit9556 เจอค่าแบตรถไฟฟ้าบ้านๆแบบที่เราใช้กันยังร้อง แบตรถไฟนี่ต้องความจุระดับไหนแล้วราคาจะขนาดไหน เอาอะไรมาคุ้มครับ5-6ปีเปลี่ยนที่ เค้าเรียกพวกเสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย ถ้ามันดีจริงคุ้มจริง ทั่วโลกเค้าฮิตใช้ไปแล้วครับ โลกที่3แบบเราไม่ทันได้คิดหรอก