Exclusive Talk Part 3/3 : เปิดเหตุผล! ทำไมแบงก์ชาติไม่ลดดอกเบี้ย
Вставка
- Опубліковано 1 лют 2025
- Exclusive Talk Part 3/3 : เปิดเหตุผล! ทำไมแบงก์ชาติไม่ลดดอกเบี้ย
ดร.เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ให้สัมภาษณ์พิเศษ กับ วารสารการเงินธนาคาร และ Money and Banking Channel ถึงเหตุผลที่ธนาคารแห่งประเทศไทย ยังไม่ลดดอกเบี้ยนโยบาย ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่ระดับ 2.25% ต่อปี และ แนวทางการดำเนินนโยบายการเงินปี 2568 ท่ามกลางหลายปัจจัยเสี่ยง จากนโยบาย “ทรัมป์ 2.0” และ สถานการณ์หนี้ครัวเรือนสูง พร้อมยืนยัน “โครงการคุณสู้ เราช่วย” เป็นยาแรง หวังแก้หนี้ครัวเรือนให้ต่ำกว่า 80% ของจีดีพี
#ธนาคารแห่งประเทศไทย #แบงก์ชาติ #ดอกเบี้ยนโยบาย #เงินเฟ้อ #เศรษฐกิจไทย #จีดีพีไทย #ทรัมป์ #สงครามการค้า #ดอลลาร์สหรัฐ #หนี้ครัวเรือน #การเงินธนาคาร #moneyandbankingchannel
📩 ติดต่อโฆษณา 📩
E-mail : tvkanngern@gmail.com
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ช่องทางติดตาม
/ moneyandbankingchannel
/ moneyandbankingchannel
/ moneyandbankingch
เป็นกำลังใจให้ค่ะ
นโยบาย หรือ การปฏิบัติอะไรก็ตาม น่าจะดูจาก result และ impact ถ้าทำแล้ว ขอให้ประชาชนส่วนใหญ่ได้ประโยชน์ ก็น่าจะมาในทิศทางที่ถูกต้อง
กลัวธนาคารอดีตเจ้านายขาดทุน
ประชาชนซักกี่คนที่จะเข้าใจ
แต่ละคนก็สนใจแต่เรื่องบันเทิง
ไม่สนใจเรื่องความเป็นจริง
แถมยังมีคนปลุกปั่นเรื่องคลิปโตอีก คนเรียนสูงสูงทุกคนก็ใช่ว่าจะฉลาด ในการใช้ชีวิต
ให้ดูตอน22และตอน17ของวิสัยทัศน์ของผม
1.ทำไมส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยจึงสูงมาก ถ้าไม่ลดดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยฝากควรสูงกว่านี้ไหม กำไรของธนาคารพาณิชณ์สูงมากมายทั้งที่ต่างชาติก็ถือหุ้นธนาคารไทยอยู่มาก แถมปันผลลดส่วนของทุนลงไปอีกซึ่งเรื่องนี้ขัดแย้งกับความเข้มแข็งของธนาคาร คำถามนี้ท่านไม่เคยตอบเลย สังคมไทยทุกภาคส่วนต้องแบ่งกำไรให้ธนาคารมากเกินไปไหม แบงค์ชาติใช้เหตุผลอะไรถึงต้องเอื้อต่อธนาคารเช่นนี้
ผมว่าถ้ามอง roa ของธนาคารถือว่าไม่เยอะนะ คนมีทุนแสนกำไรหมื่นเยอะไหม แล้วธนาคารเขามี asset มหาศาล ทุกวันนี้ขนาดดอกเบี้ยสูงเขายังไม่กล้าปล่อยกู้เลย แล้วดูดอกเบี้ยนโยบายของทุกประเทศทั่วโลกของไทยก็ต่ำเกือบสุดละ เอารอบๆบ้านเราในอาเซียนเราก็ต่ำสุด ถ้าจะปรับลดเพิ่มไปอีก วันไหนเกิดวิกฤติเราตะไม่เหลือเครื่องมือเลยนะ
ไล่ออกไปเหอะ
@@s.t.9477 เรื่องดอกเบี้ยสูงหรือต่ำ คงไม่อยากถกเถียงเพราะต่างก็มีเหตุผล ที่ติติงคือส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย ธุรกิจธนาคารควรเอาROAมาวัดเทียบกับธุรกิจอื่นๆเหรอ บริษัทแห่งนึงผลิตสินค้าบางอย่างอัตรากำไรยังไม่ถึง5%เลย ธนาคารแค่ปล่อยเงินให้กู้โดยส่วนใหญ่ก็มีค้ำประกันแต่มีอัตรากำไรพอๆกัน ในภาวะที่เศรษฐกิจตกต้ำ ทุกธุรกิจกำไรลดลงทั่วหน้า มีแต่ธนาคารที่กำไรมากขึ้นเรื่อยๆ ถ้าไม่ผูกขาดจกำไรเท่าไหร่ก็ไม่ว่ากัน แต่ธุรกิจธนาคารไม่ได้เปิดเสรี คนในประเทศไม่ได้มีทางเลือกมากมาย ไม่เหมือนสินค้าจีนที่มาขายแข่งกับโรงงานไทย ธนาคารต่างชาติเปิดสาขาปล่อยกู้ในบ้านเราอย่างเสรีไม่ได้ หน้าที่แบงชาติก็ต้องควบคุมส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยให้เหมาะสม อย่าให้คนไทยต้องอยู่แบบ ค่าไฟแพงเพราะสัมปทาน เหล้าแพงเพราะมีขายแค่ไม่กี่ราย ดอกเบี้ยกู้แพง ดอกเบี้ยฝากต่ำ เพราะธนาคารมีไม่กี่แห่ง แบบนี้ควรรวยก็รวยไป ชาวบ้านก็เสมือนจ่ายภาษีทางอ้อมไปที่ค่าไฟ ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย หรือ ค่าเน็ตที่มีเหลือแค่สองเจ้า
พลาดแล้วล่ะ หนี้หัวโต
ผมว่าผู้ว่าน่าจะอธิบายหลายๆเรื่องได้ดี
2.ตั้งแต่ท่านผู้ว่ารับตำแหน่งมา ตัวเลขการคาดการณ์GDP และอัตราเงินเฟ้อของแบงค์ผิดพลาดมาตลอดทุกไตรมาส ซึ่งส่งผลต่อการลงทุนในโครงการต่างๆ มีผลต่อการวางแผนและกำหนดนโยบายของทั้งรัฐและเอกชน คนของแบงค์ชาติจะรับผิดชอบอย่างไร ผิดพลาดต่อเนื่อง3-4ปี มันต้องรับผิดชอบอะไรบ้างไหมท่าน
อิ่มอยุกลุ่มเดียว
ที่มาของผู้ว่า อิสระจริง?
เปิดเหตุผล = ไม่มีเหตุผล
ไม่สามารถแก้ข้อกล่าวหาที่ว่าเอื้อกลุ่มทุนธนาคารพาณิชย์ได้