ฟุตบอลประเพณีจุฬา-ธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 32 พ.ศ. 2515

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 24 жов 2021
  • กองเชียร์ของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยบนอัฒจันทร์สนามศุภชลาศัย ขบวนพาเหรดเชิญธงของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขบวนอัญเชิญพระเกี้ยวของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุณจิระนันท์ พิตรปรีชา ดาวมหาวิทยาลัยประคองพระเกี้ยวร่วมกับคุณสาลิณี นุชการตระกูล นางนพมาศจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขบวนนิสิตหญิงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุณสัณห์จุฑา สุวรรณจินดา ดรัมเมเยอร์นำขบวนวงดุริยางค์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุณพนิตกุล บุญศรี คุณสมปอง ลิ้มปมานพและคุณเอื้อมพร เวชวิทย์เป็นดรัมเมเยอร์ไม้รอง อัฒจันทร์ฝั่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขบวนนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเดินพาเหรดเข้ามาในสนาม การแสดงท่ากายบริหารของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักกีฬาวิ่งนำคบเพลิงไปรอบสนาม ขบวนพาเหรดของนิสิตคณะต่างๆของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กองเชียร์นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์บนอัฒจันทร์ปรบมือพร้อมกัน การแสดงของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่กลางสนามฟุตบอล ขบวนพาเหรดของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยลอดซุ้มเข้าสู่สนามฟุตบอล ศ.อรุณ สรเทศน์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยบนอัฒจันทร์ การแสดงของนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่กลางสนามฟุตบอล กองเชียร์บนอัฒจันทร์ทั้งของฝั่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ต่างปรบมือและร้องเพลงเชียร์กันอย่างคึกคัก กองเชียร์บนอัฒจันทร์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแปรอักษรเป็นข้อความว่าไม่เป็นไรเอาอีก กองเชียร์บนอัฒจันทร์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแปรอักษรเป็นข้อความว่าเด็กหนามหลวง กองเชียร์บนอัฒจันทร์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์แปรอักษรเป็นข้อความว่าก้อน่านนะซี คุณพโยมพร สุวรรณฑัตดาราธรรมศาสตร์อัญเชิญถ้วยพระราชทานการแข่งขันฟุตบอลประเพณีจุฬา-ธรรมศาสตร์เข้าสู่สนาม คุณพโยมพร สุวรรณฑัต อัญเชิญถ้วยพระราชทานไปมอบให้แก่ศ.อรุณ สรเทศน์บนอัฒจันทร์ ขบวนพาเหรดล้อเลียนการเมืองของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเข้าสู่สนาม กองเชียร์บนอัฒจันทร์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์แปรอักษรเป็นภาพพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถพร้อมข้อความทรงพระเจริญ กองเชียร์บนอัฒจันทร์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแปรอักษรเป็นภาพพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ
    ลิขสิทธิ์ ทวีศักดิ์ วิรยศิริ
  • Фільми й анімація

КОМЕНТАРІ • 93

  • @sutreec5564
    @sutreec5564 3 місяці тому +5

    ล่าสุดเห็นแล้ว. เศร้าใจ ไม่ให้เกรียรติ สถาบันตนเอง การรักษาวัฒนะธรรม ประเพณีเป็นสิ่งดีงาม. หรือจะปรับให้ทันสมัยก็ต้องคำนึงถึงความเหมาะสม

  • @bizoxy
    @bizoxy 2 роки тому +9

    05:01 / 10:23 สวยจัง
    ใครยังอยู่ถึงตอนนี้
    ป่านนี้ก็เป็นรุ่นคุณตาคุณยายเป็นทวดกันหมดแล้ว

  • @kurtnewman9405
    @kurtnewman9405 3 місяці тому +4

    สาวๆในยุคนั้นสวยหุ่นดีจังเลย ลองบวกอายุเล่นๆตอนนี้อายุ 70-72 ปีแล้ว

    • @CaptianInthalalak
      @CaptianInthalalak 3 місяці тому

      ใช่ครับ น่าจะป็นรุ่นคุณป้า คุณยายกันหมดแล้ว

  • @Chantawat2531
    @Chantawat2531 2 роки тому +19

    ขบวนล้อการเมือง และขบวนสะท้อนสังคม มีจุดประสงค์เพื่อเป็นเสมือนกระจกที่สะท้อนถึงปัญหาที่เกิดขึ้นภายในสังคม โดยนำเสนอภายใต้ขอบเขต ซึ่งจะไม่โจมตีไปที่ใครคนใดคนหนึ่ง เพื่อให้นิสิต-นักศึกษา ตลอดจนประชาชนทั่วไป ได้ตระหนักและตื่นตัวต่อปัญหา/สถานการณ์ที่เกิดขึ้น และร่วมกันหาทางแก้ไขเพื่อให้สังคมมีความเป็นอยู่ที่ดียิ่งขึ้น

  • @tuberuby
    @tuberuby 2 роки тому +5

    คนเชิญพระเกี้ยวสวยมาก คนสมัยก่อนเสียงเหมือนกันหมดเลยไหม

    • @opera-tv
      @opera-tv Рік тому

      สมัยนั้นเสียงจากฟิล์มคือ เสียงพากษ์ครับ ยุคนั้นยังไม่สามารถบันทึกเสียงลงในฟิล์มได้

  • @signalmaduguza942
    @signalmaduguza942 Рік тому +6

    สาวๆดรัมเมเยอร์สมัยนั้นสวยหุ่นดีมากๆ แต่ตอนนี้คงเป็นคุณยายหมดแล้ว

  • @user-nh9fh3zp8m
    @user-nh9fh3zp8m 3 місяці тому +2

    ทำไมดูคนสมัยก่อนฉลาดกว่าคนสมัยนี้ ไม่อยากแบกก็ใช้รถลากเอา ดูเป็นขบวนที่สวยงามมากคับ

  • @PALI_VDO
    @PALI_VDO 2 роки тому +6

    นี่ๆ ไม่มีใครชมสาวๆที่อัญเชิญพระเกี้ยวรึไง สวยดีนะ

    • @user-ds4vw2ox3t
      @user-ds4vw2ox3t Рік тому +1

      เราคิดว่าสองคนนี้สวยมากเลยค่ะ☺️

  • @miketanasan2679
    @miketanasan2679 3 місяці тому +1

    สวยงามมากๆ

  • @Chantawat2531
    @Chantawat2531 2 роки тому +7

    คุณจิระนันท์ พิตรปรีชา นิสิตเก่าคณะวิทยาศาสตร์ ครับ.

  • @niti2517
    @niti2517 2 роки тому +17

    ยึดคืนพื้นที่จากจุฬาฯ มาทำเป็นสวนสาธารณะให้หมดครับ เพื่อให้เชื่อมเข้ากับสวนลุมฯ และสวนเบญกิตติ ทั้งนี้เพื่อ ไม่ให้ จุฬาฯ สร้างศูนย์การค้าใหม่และใช้ประโยชน์ทางธุรกิจ ซึ่งผิดจากความตั้งใจของ ร.๕ และ ร.๖ ที่พระองค์ท่าน เตรียมจัดงาน เอ็กซโป ในสมัยก่อน โดยเสนอให้ไทยจัดงานใน ปี พ.ศ.2570

  • @TJBuddhachart
    @TJBuddhachart 2 роки тому +9

    ขอบคุณมากครับ เผยแพร่ออกมาได้ถูกจังหวะมากๆ ชอบมากครับ

    • @hilatchikkakul8980
      @hilatchikkakul8980 2 роки тому +3

      ใช้รถลากเสียอีก ไม่เห็นมีแบกอะไรเลย แต่ยกเลิกไปก็ดีแล้ว ถ้าคนในเองก็ไม่ได้อินอะไรแล้วน่ะ ทุกอย่างมีขึ้นมีลง มีเกิดมีดับ เป็นธรรมดา ยกเลิกไป แล้วเกี่ยวอะไรกับงานวิชากานที่จุฬาผลิตออกมา ก็ไม่

    • @fundeekongsuk7815
      @fundeekongsuk7815 2 роки тому +1

      @@hilatchikkakul8980
      ความคิดตื้นเขิน เพราะอคติ

    • @hilatchikkakul8980
      @hilatchikkakul8980 2 роки тому

      @@fundeekongsuk7815 ความคิดของคนที่จะให้มีประเพณีนี้อยู่ ก็ตื้นเขินเช่นกัน เพราะอคติ ประเพณีนี้มันเพิ่งมีมาไม่นานเอง และประเพณีมันต้องรับใช้มนุษย์ ไม่ใช่กลับกัน เมื่อใดที่มนุษย์ไม่เห็นว่าประเพณีมันมีประโยชน์อะไรแล้ว ก็ย่อมต้องละทิ้งไป เก็บเข้าองค์ความรู้ประวัติศาสตร์ไป ก็เท่านั้น นี่คือความเป็นจริง

  • @memorypools
    @memorypools Рік тому +4

    สมัยนั้นดูเรียบง่ายจัง สมัยนี้ทุกอย่างต้องอลัง55555

  • @wittywon9727
    @wittywon9727 2 роки тому +7

    เหตุการณ์เกิดก่อน 14 ตุลา 2516 แค่ปีเดียว
    ปัจจุบันคนเหล่านี้ก็อายุ 70 ปีแล้วสิ

  • @witristbr7799
    @witristbr7799 2 роки тому +1

    โหหหหห ทรงคุณค่ามาก รับรู้ถึงสปิริตของ นิสิต นักศึกษา จริงๆ ไม่เหมือนสมัยนี้ ทำเหมือนงานโชว์

  • @user-zn4ce1bk8u
    @user-zn4ce1bk8u 3 місяці тому

    งดงามมาก ครับ❤

  • @steamtechnicolor461
    @steamtechnicolor461 2 роки тому +5

    อยากดูครั้งที่ 1 ครับ

  • @user-my7qu2uj5i
    @user-my7qu2uj5i 2 роки тому +5

    ผู้สมัยนั้นสวยมีเสน่มากคับต่างจากสมัยนี้คลินิกพากันสวย

  • @pinocchiolala159
    @pinocchiolala159 2 роки тому +2

    คทากรคือควงไม้ได้โหดมาก

  • @user-lf4sc1gi9l
    @user-lf4sc1gi9l 2 роки тому +6

    ขออนุญาตแชร์นะครับ

  • @gogotorious
    @gogotorious 2 роки тому +35

    อ่าว ยุคนั้นก็เห็นใช้รถลากได้นิ งงมากเลยแม่

    • @hilatchikkakul8980
      @hilatchikkakul8980 2 роки тому

      555

    • @drffrffwfewfewfwefewfwef1565
      @drffrffwfewfewfwefewfwef1565 2 роки тому

      เสลี่ยงพอๆกับพระยานมาศ 3 ลำคาน

    • @pinocchiolala159
      @pinocchiolala159 2 роки тому +4

      ลักษณะของสนามในตอนนั้นยังไม่ได้รับการปรับปรุงเท่าปัจจุบันครับ ในปัจจุบันมีการใช้วัสดุทำสนามและออกกฎมาเป็นลายลักษณ์อักษรครับว่าห้ามนำยานพาหนะที่มีล้อเลื่อนเข้าสนาม เพราะกลัวพื้นจะเป็นรอย นี่จึงเป็นอีกสาเหตุนึงที่การอัญเชิญพระเกี้ยวจึงกลายร่างเป็นการแบกเสลี่ยง

    • @nutthanunyongpruksa864
      @nutthanunyongpruksa864 2 роки тому +2

      @@pinocchiolala159 ผมเห็นตอนงานพิธีมิซซาที่สนามศุภเมื่อครั้งพระสันตปาปาเสด็จเยือนประเทศไทย ก็เห็นใช้ popemobile เข้าสนามได้หนิครับ

  • @user-vy5ut7wm5j
    @user-vy5ut7wm5j 2 роки тому

    คุณแม่วันนะซิง สวยสมคำล่ำลือจริงๆ

  • @yossawatruengposayanont6673
    @yossawatruengposayanont6673 3 місяці тому

    High sprit… and look powerful ……harmony ……r e s p e c t ..❤

  • @channal2248
    @channal2248 2 роки тому +4

    เป็นปู่ย่าตาทวดกันหมดแล้วนะตอนนี้ครับ

  • @Chantawat2531
    @Chantawat2531 4 місяці тому

    การแข่งขันฟุตบอลในปี 2567 นี้มิใช่งานฟุตบอลประเพณี เนื่องจากจัดขึ้นร่วมกันระหว่างองค์การบริหารสโมสรนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างนิสิตและนักศึกษาในปัจจุบันของทั้ง 2 มหาวิทยาลัย ซึ่งต่างจากงานฟุตบอลประเพณีที่สมาคมนิสิตเก่าของทั้ง 2 มหาวิทยาลัยสลับกันเป็นเจ้าภาพจัดขึ้น และเป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างศิษย์เก่าของทั้ง 2 มหาวิทยาลัย

  • @Krungthon101
    @Krungthon101 2 роки тому +33

    ก็แค่เปลี่ยนจากใช้คนแบก เป็นการใช้ราชรถ หรือยานพาหนะอื่นๆๆแทนก็ได้เพราะการที่จะบังคับมาทำในยุคสมัยนี้มันก็บังคับกันไม่ได้แล้ว และจะบอกว่าไม่ได้ด้อยค่าอะไรเลย เพราะตราพระเกี้ยว ยังไงก็คือสัญลักษณ์ คือความภาคภูมิใจของจุฬาลงกรณ์อยู่ดี

    • @hilatchikkakul8980
      @hilatchikkakul8980 2 роки тому +3

      ผมว่ายกเลิกแบบนี้ก็ดีนะ มันเป็นความชอบธรรมอันขาวสะอาด ตามกฎเกณฑ์ชัดเจน ตอกหน้า จนท. บ้านเมืองตอนนี้ ที่ทำผิดกฎหมายเองรัวๆ เพื่อคนฝั่งตัวเอง ไม่สนกฎเกณฑ์บ้านเมือง

    • @donforest8538
      @donforest8538 2 роки тому +2

      ใช่ครับใช้รถแทนไปเลย จะได้ไม่ต้องขัดแย้งกัน

    • @fundeekongsuk7815
      @fundeekongsuk7815 2 роки тому +8

      เนติวิทย์ มีแนวคิดขวางโลก ตั้งแต่เรียนมัธยมแล้ว
      ต่อต้านกิจกรรมหน้าเสาธง ต่อต้านเพลงชาติ บอกว่า. ได้ยินเพลงชาติแล้วจะอวก
      มาเรียนม.จุฬา แอนตี้ พิธีถวายบังคมร.5 ร.6. อ้างว่าทำให้คนไม่เท่าเทียม ดูเป็นทาส
      ทั้งจุดประสงค์ของพิธี คือการแสดงความกตัญญู ต่อผู้ให้กำเนิดมหาวิทยาลัย
      การแห่พระเกี้ยว ก็มาประกาศ ยกเลิกในวันที่23ตุลา2564.วันปิยมหาราช
      ทั้งที่ปีนี้เขาไม่มีการแข่งฟุตบอล เพราะสถานการณ์โควิด-19. ระบาด

    • @fundeekongsuk7815
      @fundeekongsuk7815 2 роки тому +4

      @@hilatchikkakul8980
      แยกแยะหน่อย
      เอาการเมืองมายุ่งกับกิจกรรมมหาวิทยาลัยทำไม

    • @hilatchikkakul8980
      @hilatchikkakul8980 2 роки тому +2

      @@fundeekongsuk7815 แล้วจุฬาสมัย กปปส. เอาการเมืองมายุ่งกับมหาวิทยาลัยทำไม นั่นยุ่งยันระดับผู้บริหารเลยนะ อย่าทำเป็นไขสือ หรือตาบอด การเมืองมันยุ่งกับมหาวิทยาลัยมานานแล้ว ดังนั้น มันเป็นสิ่งที่ทำได้ไม่ผิด อย่าอคติสิ ฝั่งนึงยุ่งไม่ผิด แต่พออีกฝั่งนึงยุ่งแล้วมาอ้างว่าอย่ายุ่งการเมือง นี่คืออะไร หน้าด้านมากๆ ทุเรศสุดๆ ไม่ดูความจริงเลย

  • @cherdartchanapan7384
    @cherdartchanapan7384 2 роки тому +27

    ด้อยค่าที่ไหน พระเกี้ยวอยู่ที่เดิม แค่ไม่เคลื่อนย้ายไปมา คุณค่าก็ยังเท่าเดิม

    • @hilatchikkakul8980
      @hilatchikkakul8980 2 роки тому +5

      แต่ผมว่า คุณค่าของพระเกี้ยวในใจผู้คนมันตกลงแล้วแหละ มันก็ธรรมดาของโลก จะยื้อยุดฉุดรั้งให้ทุกอย่างเป็นแบบเดิม ก็ทุกข์เท่านั้นแหละ พระเกี้ยวมันแค่ติ่งเล็กๆของจุฬา เทียบไม่ได้เลยกับงานวิชาการต่างที่ผลิตออกมาเป็นประโยชน์ต่อโลก

    • @hilatchikkakul8980
      @hilatchikkakul8980 2 роки тому +2

      @Suriya Now แล้วทำไมจะยกเลิกไม่ได้ล่ะ ก็เขาอธิบายชัดว่ายกเลิกเพราะอะไร แล้วคุณมีเหตุผลอะไร คุณเป็น นศ. เหรอ เป็นคนที่ออกเสียงเลือกตั้งคณะทำงานนี้เข้าไปเหรอ คุณมีความชอบธรรมอะไรไปยุ่งกับเขา
      ปล. พิธีนี้มันไม่ได้ยาวนานอะไรนักนะ และประเพณีมันเปลี่ยนแปลงได้ ตามสังคม เหตุผลที่เปลี่ยนก็ชัด สังคมเขาไม่ได้ให้ความสำคัญอะไรมันมากแล้ว แถมลำบากคนในสังคมนั้นๆ เขาก็เห็นชอบที่จะเปลี่ยน เรื่องธรรมชาติ

    • @jeangbond535
      @jeangbond535 2 роки тому +8

      @@hilatchikkakul8980 คุณค่าพระเกี้ยวไม่ได้ตก แต่ใจคนมากกว่าที่ตก พระเกี้ยวก็คือสิ่งระลึกถึง ผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัย แต่ก็คงมีแต่ควายที่ไปนึกถึงศักดินา

    • @user-id1ut3br2e
      @user-id1ut3br2e 2 роки тому

      @Suriya Now ได้ไปเรียนกับเค้าเหรอ

    • @user-id1ut3br2e
      @user-id1ut3br2e 2 роки тому

      @Suriya Now เดกดื้อ

  • @kittichantra9483
    @kittichantra9483 3 місяці тому

    เอ้าจบเลย ดาม่า แบกเสลี่ยง

  • @ss.sdp.2557
    @ss.sdp.2557 2 роки тому +1

    ผมยังไม่เกิดเลย ปัจจุบันชอบนั้งฟังคุยรุ่นนี้เล่าเรื่องราว

  • @user-if3tz2xl8i
    @user-if3tz2xl8i 2 роки тому +3

    ปี2515ยัวอยุ่ในท้องแม่อยุ่เลย55

    • @dindindesh7579
      @dindindesh7579 2 роки тому

      โหว ป้าจะ 50 อยู่ลำร้อแล้วหรือคะเนี้ย😂

  • @Chantawat2531
    @Chantawat2531 2 роки тому +10

    ครั้งนั้น ธรรมศาสตร์ ชนะ จุฬาฯ 4-0 ครับ.

  • @user-jy7qc4le8e
    @user-jy7qc4le8e 3 місяці тому

    ปัญหาไมใช่แบกไม่แบกหรอกมันขึ้นอยู่กับการตกแต่งตอนเค้าใช้เกียวนแต่ใหมันอลังก็ดูสวยงามเอารถพุ่มพวงมันไม่ไหวจริงๆ

  • @civilengineering3104
    @civilengineering3104 Рік тому +1

    ผมยังไม่เกิดเลย

  • @donforest8538
    @donforest8538 2 роки тому +8

    สวยงามครับ อย่าให้คนกลุ่มเดียวมาเปลี่ยนแปลง

  • @Kai-qy7oh
    @Kai-qy7oh 3 місяці тому

    งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ ได้จัดขึ้นเป็นครั้งแรกใน ปี 2477 โดยกลุ่มนักเรียน รร. สวนกุหลาบ เพื่อสร้างความสามัคคีในหมู่นิสิตนักศึกษาทั้งสองสถาบันครั้งเเรกจัดที่ สนามหลวง
    [ความเป็นมาของ ม. ลำดับที่ 2
    - มาตรา 4 ให้จัดตั้ง ม.วิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
    มีหน้าที่จัดการศึกษาวิชากฎหมาย วิชาการเมือง …
    - มาตรา 5 ให้โอนคณะนิติและรัฐศาสตร์ จุฬาฯ ตลอดจนทรัพย์สินและงบประมาณของคณะเหล่านั้น มาขึ้นต่อ ม.นี้ ก่อนวันที่ 1 เมษายน 2477]

  • @unyapholpoonyawattho2316
    @unyapholpoonyawattho2316 3 місяці тому

    สมัยนี้คิดงานไม่เป็น สมองฝ่อ คิดเป็นอยู่อย่างเดียวว่าจะเอายังไงกับมาตรา๑๑๒ดี ที่เรียนที่อาจารย์สอนมานั้นล่องลอยหายหมดครับผม🙊

  • @Chantawat2531
    @Chantawat2531 4 місяці тому

    ผลการแข่งขันถึงปัจจุบัน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ชนะ 24 ครั้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยชนะ 18 ครั้ง และเสมอกัน 32 ครั้ง (ไม่นับรวมการแข่งขันฟุตบอลสานสัมพันธ์จุฬาฯ-ธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2567 ซึ่งเป็นการแข่งขันโดยตรงระหว่างนิสิตและนักศึกษาของมหาวิทยาลัย)

  • @user-nx9ic7hq3u
    @user-nx9ic7hq3u 2 роки тому +1

    สมัยก่อนสอบเข้ายากมั้ยน้ออ

    • @jadstriwid
      @jadstriwid Рік тому +1

      สอบหนเดียวค่ะ เลือกได้ 5 คณะ

    • @CaptianInthalalak
      @CaptianInthalalak 3 місяці тому

      ไม่ยากครับ เพราะการแข่งขันมันไม่สูงมากเหมือนยุคนี้ แต่ปัญหาคือคนยุคนั้นไม่ค่อยมีเงินส่งลูกเรียนมหาลัย พวกจุฬา-มธ.ต้องเป็นลูกชนชั้นกลางถึงสูงถึงจะเข้าได้

    • @Kai-qy7oh
      @Kai-qy7oh 3 місяці тому

      คนนอกมักจะเห็นความหรู ร่ำรวย
      จริงแล้ว คนพร้อมที่จะเรียน เรียนเก่งตั้งแต่มัธยม ทั้งมีพวกยากจนมาเรียนปนกันด้วย
      ทุนมีมาก
      - ทุนขาดแคลน
      - ทุนเรียนดี
      - ทุนจบแล้วทำงานชดใช้ เช่น ทุน รฟท., ทุน กฟผ., ทุน ทอ.
      กระทั่งจัดอาหารกลางวันให้ผู้ขาดเเคลน
      จบไปแล้ว ลืมตาอ้าปากได้ บริจาคให้คนที่สอบเข้ามาแต่ขาดเเคลน, ปรับปรุงคณะ, จัดหาอุปกรณ์
      สมัยก่อน พระราชทานที่ดินสำหรับเก็บค่าเช่ามาสนับสนุน เเบบเดียวกับ รฟท.
      (แล้วรับงบประมาณจากรัฐ ลำดับที่ 4-5 เพราะรับค่าเช่ามาเเล้ว)
      เพื่อให้คนทั่วไป สอบได้ สามารถเรียนด้วยค่าเทอมไม่แพงเดืน

  • @natchon
    @natchon 2 роки тому +1

    ยุคนั้นก็มีรถลาก ทำไมยุคนี้ไม่มีwa

  • @Pacharee16
    @Pacharee16 2 роки тому +11

    ฟุตบอล ประเพณี -จุฬา -ธรรมศาสตร์- ปีละครั้ง เป็นเกียรติ เป็น ศักดิ์ศรี ของทั้งสอง สถาบัน ~ในสมัยนั้น-ลูกหลานใคร ใด้เข้าเรียน ทั้งสองสถาบันนี้ พ่อแม่ จะปลื้มใจมาก~เดี๋ยวนี้ถ้าใครรู้ว่า ใครเรียน ใน มธ ใน จุฬา คนจะกลัว และรังเกียจ- สถาบัน ยังเหมือนเดิม แต่ การเมือง แทรกแซง เอาทั้ง สองสถาบัน เป็นเครื่องมือ อาจารย์ กลายเป็น เครื่องมือ นักการเมือง เสี้ยม สอนเด็ก ให้ เปลี่ยนไป ในทางที่ผิดๆ ~เยาวชนไทย ถูกล้างสมอง เดินตามหลังฝรั่ง ลืม รากเหง้า ลืม วัฒนธรรม ที่ดีงาม ของไทย-

    • @hilatchikkakul8980
      @hilatchikkakul8980 2 роки тому +8

      แต่ก่อนก็การเมือง โถๆๆๆ เพียงแค่คนส่วนใหญ่ในสถาบันเขาพลิกขั้ว ก็มาอ้างว่าการเมือง ทั้งที่ความจริงมันการเมืองมานานแล้ว แต่เป็นอีกข้างหนึ่งเท่านั้น
      ตอนนี้แหละ ที่คนเรียนจุฬา จะมีความภาคภูมิใจมากขึ้น เพราะมีความกล้าหาญทางจริยธรรม ในสิ่งที่ถูกต้อง

    • @darnkung1
      @darnkung1 2 роки тому +7

      มีอะไรให้งามถามก่อน ทั้งโครงสร้างสังคมมีแต่ชนชั้น ทั้งระบบอุปภัมป์ รากเหง้าคอรัปชั่นน่ะสิไม่ว่า

    • @nakrobinnajak55
      @nakrobinnajak55 2 роки тому +1

      บอกนักการเมืองเสี้ยม กูขำ ทีไอ้ลุงกำนันลากจมูกให้เชื่อยังเชื่อเลย อย่าทำเป็นพูดดีสั่งสอนคนอื่นเลย ขำ55555

    • @preechawong
      @preechawong 2 роки тому

      ใครรังเกียจ นังเกียจเรื่องอะไร
      เดี๋ยวนี้เด็กรุ่นใหม่รู้ทันพวกคน้ก่าคนแก่ที่ยังถูกล้างสมอง ไม่ยอมตื่นจากหลับมากกว่า
      พอเด็กรู้ทันก็มาด่าเด็ก

    • @fundeekongsuk7815
      @fundeekongsuk7815 2 роки тому +2

      @@preechawong
      ล้างสมองเรื่องอะไร?

  • @Kai-qy7oh
    @Kai-qy7oh 5 місяців тому

    จีระนันท์ เธอเรียนคณะเภสัช เธอเป็น 'ดาวจุฬาฯ ปี 2515' ด้วย
    สมัยนั้นนิยมเรียก เตรียมนำหน้า ปี 1-2 มีเตรียมแพทย์, เตรียมทันตะ, เตรียมสัตวะ, และ เตรียมเภสัช
    แล้ว 4 คณะดังกล่าวล้วนหลักสูตรมากกว่า 4 ปี

    • @davidboonthawee1343
      @davidboonthawee1343 3 місяці тому

      คณะวิทยาศาสตร์ครับ

    • @Kai-qy7oh
      @Kai-qy7oh 3 місяці тому

      คณะวิทยาศาสตร์ เป็นพี่เลี้ยงให้หลายคณะ
      ช่วง ปี 1-2 นิยมเรียกกันว่า 'เตรียมxxx' ครับ
      คณะอื่นๆเช่น ครุ, สถาปัตย์ วิศวะ ซึ่ง ปี 1-2 ไม่เรียก'เตรียมxxx' แม้ไปเรียนวิชา คณิตศาสตร์, ฟิสิกส์ และ เคมี ที่คณะวิทยาศาสตร์ด้วย
      ก่อตั้งมาหลายคณะ พอยุคท่านผู้นำ คิดตั้ง ม.แพทย์ศาสตร์(มหิดล ปัจจุบัน) เป็นลำดับที่ 4
      มีการยุบ 4 คณะไปเสีย
      ราวๆปี 2513 มีประท้วงกัน เภสัช ซึ่งสังกัด ม.แพทย์ศาสตร์ (แต่งชุด มหิดล) แต่ยังอยู่ติดกับ สถาปัตย์
      รัฐบาลโดยคณะปฏิวัติมีคำสั่งให้โอนกลับมา จุฬาฯตามเดิม เมื่อ เม.ย. 2515
      (จุฬาฯก่อตั้งขึ้น มีประวัติยาวนาน สำหรับ แพทย์ มีคำว่า 'ข้ามฟาก' คือจบ ปี 1-2 เตรียมแพทย์ ต้องไปเรียนที่ แพทย์- ศิริราช
      เมื่อยุบไปตั้ง ม.ใหม่ จุฬาฯก็ตั้งใหม่ ใช้ที่เรียน รพ.จุฬา สภากาชาด)

    • @Kai-qy7oh
      @Kai-qy7oh 3 місяці тому

      ขณะเธอเรียนเภสัช ได้เข้าร่วมประท้วง ยุค 14 ตุลา 16 ด้วย
      เธอว่า "ไปร่วมคืนที่ 14 ที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ขึ้นไปพูดเเล้วมีคนจำเธอได้ว่าเป็นดาวจุฬาฯ"

  • @commavex5038
    @commavex5038 3 місяці тому

    งานฟุตบอลประเพณีระหว่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง (มธก.) และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดเปนครั้งปรกเมื่อปีพระพุทธศักราช ๒๔๗๗ ณ ท้องสนามหลวง โดยมหาวิทยาลัยจากการริเริ่มของนักเรียนเก่าสวนกุหลาบวิทยาลัย ซึ่งศึกษา ณ มหาวิทยาลัยทั้งสอง โดยได้รับการสนับสนุนจากู้บริหารวิทยาลัยทั้งสองซึ่งเปนศิษย์เก่าของโรงรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยเช่นกัน ครั้งนั้น มธก. เปนเจ้าภาพ ส่งจดหมายเชิญจุฬามหาวิทยาลัยเข้าร่วมแข่งขัน ต่อมาจึงจัดที่สนามฟุตบอลโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ต่อมาย้านยมาจัดที่สนามศุภฯ เว้นแต่บางปีที่จัด ณ สนามจารุเสถียร ผลการแข่งขั้นท้ง ๔๗ ครั้งที่ผ่านมา เสมอ ๓๒ ครั้ง ธรรมศาสตร์ชนะ ๒๔ ครั้ง จุฬาลงกรณ์ชนะ ๒๘ ครั้ง สารัตถะสำคัญคือความสามัคคีระหว่างนักศึกษาแลนิสิต ต่อมาได้ขยาไปสู่การสะท้อนการเมืองและสังคม ตลอดจนกันแปรอักษร แลกิจกรรมร่วมกันเพื่อการกุศล วางเวลา ๒๒.๕๘ น. (เขียนเสร็จวลา ๒๒.๕๔ น.) วารพุธที่ ๔ เมษายน ปีพระพุทธศักราช ๒๕๖๗

  • @watcharamahaseetanate2712
    @watcharamahaseetanate2712 2 місяці тому

    นักศึกษาที่เห็นในวิดีโอน่าจะ 70-75ปี