Science of interstellar ตอนที่ 2 : กฏเกณฑ์ที่ควบคุมเอกภพ

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 2 лют 2023
  • ตอนที่ 1 อยู่นี่ครับ • วิทยาศาสตร์ interstell...
    ติดตามเราที่ facebook : / curiositychannelth
    Blockdit : www.blockdit.com/curiositycha...
    Tiktok : / curiositychannelth
    instagram ชีวิตส่วนตัว : / ekarajpkk
    ติดต่องาน : curiositychannel.th@gmail.com
    สั่งซื้อแว่น Ophtus ได้ที่ / ophtus
    ใช้โค้ด SONGSAI เพื่อรับส่วนลด 100 บาท
    Friendly Gym ฟิตเนส บางพลี
    / friendlygymsmt9
    ช่องคนช่างสงสัยได้จัดแคมเปญร่วมกับ futureskill.co/ Platform การเรียนรู้ทักษะในยุคอนาคต เช่น การเขียนโปรแกรม , เขียนเว็บไซต์ , การตัดต่อวีดีโอ , Content Creative , Data analytic ฯลฯ
    1. แพ็คเกจบุฟเฟ่ต์ 1 ปี - ส่วนลด 50% จาก 9948 เหลือ 4974 บาท
    โค้ดส่วนลด : AFFXCC
    หรือคลิกที่ลิ้ง fskill.co/Aoag
    2. แพ็คเกจรายคอร์ส - ส่วนลด 100 บาท คอร์สเรียนเดี่ยว คอร์สใดก็ได้ ลดเพิ่มจากราคาลดแล้วจากราคาขายบนหน้าเว็บไซต์
    โค้ดส่วนลด : AFFXCC100
    หรือคลิกที่ลิ้ง fskill.co/Aoal
    3. แพ็คเกจ Superclass - ส่วนลด 100 บาท ลดเพิ่มจากราคาลดแล้วจากราคาขายบนหน้าเว็บไซต์
    โค้ดส่วนลด : AFFXCC100
    หรือคลิกที่ลิ้ง fskill.co/Aoam
    ----------------------------------------
    การค่อยๆ สำรวจ การขยายแผนที่ ทำความรู้จักดินแดนต่างๆ รวมไปถึงการค้นพบดินแดนใหม่ๆ แผ่นดินใหม่ๆ เกาะใหม่ๆ ของนักสำรวจในช่วงปี 1500 ก็เหมือนกับ การเรียนรู้และ ค้นพบองค์ความรู้ใหม่ ๆ เกี่ยวกับกฏเกณฑ์ที่ควบคุมเอกภพนี้ของนักวิทยาศาตร์
    ในปี 1687 นิวตันได้ตีพิมพ์หนังสือที่ขื่อว่า The Principia ซึ่งมันเป็นเสมือนการค้นพบกฏเกณฑ์แห่งเอกภพเกาะแรก โดยเราตั้งชื่อเกาะนี้ว่า กฎของนิวตัน
    เป็นเวลากว่า 300 ปี ตั้งแต่การค้นพบเกาะนี้จนปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์ ก็ได้สำรวจทุกซอกทุกมุมของเกาะอย่างละเอียด เราพบว่าเกาะนี้ ได้ให้องค์ความรู้ กฏเกณฑ์ที่สร้างความสัมพันธ์ระหว่าง แรง มวล ความเร็ว และความเร่ง
    โดยกฎของนิวตัน สามารถใช้อธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุต่างๆ ทั้งบนโลก และนอกโลก เราสามารถคำนวณและทำนายการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์ที่โคจรรอบโลก การเคลื่อนที่ของโลกที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ได้อย่างแม่นยำ
    กฎของนิวตันได้ถูกประยุกต์ใช้ในศาสตร์แขนงอื่นๆ อย่างมากมาย อย่างเช่นวิศวกรรม ตึก ถนน สะพาน ล้วนใช้กฏของนิวตันในการออกแบบและก่อสร้างทั้งสิ้น
    จนในช่วงต้นปี 1900 นักวิทยาศาสตร์บางคนก็เข้าใจว่า เกาะกฎของนิวตันนี้ คือแผนที่ทั้งหมดขององค์ความรู้ในเอกภพนี้แล้ว
    นักวิทยาศาสตร์บางคนในยุคนั้นถึงกับพูดว่า เราได้ค้นพบกฎฟิสิกส์ครบทั้งหมดแล้ว ที่เหลือก็แค่พัฒนาเทคโนโลยี ต่างๆ ให้มีความแม่นยำเที่ยงตรงก็เท่านั้น แต่ เราก็รู้ว่า จริงๆ มันไม่ใช่อย่างนั้น จริงไหมครับ ฟิสิกส์ มันมีอะไรที่ลึกลับยิ่งกว่ากลศาสตร์นิวตัน
    ในช่วงต้นปี 1900 นักฟิสิกส์ก็เริ่มพบว่า มันมีบางอย่างที่กฎของนิวตันใช้ไม่ได้ เช่นที่ความเร็วสูงมากๆ ใกล้ความเร็วแสง หรือ วงโคจรที่ส่ายไปมาของดาวพุธ มันเป็นอะไรที่กฎนิวตันไม่สามารถอธิบายได้ หรือในเสกลที่เล็กมากๆ ระดับอะตอม สมการต่างๆ ของนิวตัน ได้พังทลายลง มันใช้ไม่ได้เลยกับวัตถุที่เล็กขนาดนี้
    การตระหนักรู้ว่า กฎของนิวตัน ไม่ใช่กฎเกณฑ์ทั้งหมดของเอกภพ มันยังมีอะไรอีกมากมายที่ขาดหาย มีเกาะอื่นๆ ยังไม่เคยถูกค้นพบ
    นักวิทยาศาสตร์จึงต้องออกเดินทาง หาเกาะใหม่ กฎเกณฑ์ใหม่ ขยายแผนที่ ขยายองค์ความรู้ เพื่อมาอธิบายในสิ่งที่กฎของนิวตัน อธิบายไม่ได้ และนักเดินทางที่ค้นพบเกาะกฎเกณฑ์แห่งจักรวาลเกาะใหม่ ก็คือ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
    ----------------------------------------
    Ref.
    The Science of Interstellar by Kip Thorne
    www.amazon.com/Science-Inters...
  • Наука та технологія

КОМЕНТАРІ • 152

  • @icebyice2013
    @icebyice2013 Рік тому +17

    ทุกวันนี้รอดูแค่จังหวะที่แอดจะไหลเข้าออฟตัสยังไง โครตเนียนทุกคลิปครับ ชอบครับผม เนื้อหาด้วยนะครับชอบ 🤣🤣🙏🙏

  • @ihaveadream4731
    @ihaveadream4731 Рік тому +6

    ชื่นชม content ของคลิปนี้ครับ ชอบการเปรียบเทียบความรุ้ทางวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบได้ในปัจจุบัน กับการเดินทางสำรวจในอดีต

  • @sattawatchantanasukon7862
    @sattawatchantanasukon7862 Рік тому +5

    เป็นคลิปที่ทำให้เข้าใจ และรู้ถึงตวามยิ่งใหญ่ของวิชา ฟิสิกส์เลยครับ
    สมัยเรียนมหาลัย ก็เคยเรียนผ่านหูผ่านตามาบ้าง กลศาสตร์นิวตัน ทฤษฎีสัมพันธภาพ ฟิสิกส์
    อนุภาค
    แต่ก็ยังไม่เข้าใจถึงการนำมาใช้งานในชีวิตจริงได้อย่างไร (ยกเว้น กลศาสตร์นิวตัน)
    จนดูตอนนี้จบถึงได้เข้าใจเลยครับ เป็นตอนที่อธิบายให้เห็นภาพกระจ่างชัดเจนมากครับ
    รู้สึกขอบคุณมากที่ มาแบ่งปันความรู้ครับ

  • @Lunar0157
    @Lunar0157 Рік тому +6

    ชอบช่องนี้ครับ อธิบายเรื่องที่ยากๆน่าปวดหัวให้น่าฟังและเข้าใจง่าย สุดยอดมากครับ

  • @sippt6148
    @sippt6148 Рік тому

    คลิปนี้ดีมากเลย​ ขอบคุณครับ

  • @joozzer6904
    @joozzer6904 Рік тому +28

    การบรรยายที่เรียบเรียงให้เห็นภาพโดนหยิบจากความเข้าใจง่ายๆใกล้ตัวมาเปรียบเทียบ รวมถึงวิดิโอที่ปรานีตทำตัวพรีเซ้นต์ต่างๆอีก
    สุดยอดมากครับ ขอบคุณสำหรับคอนเท้นท์ดีๆ 👍

    • @user-gq3rd6de5u
      @user-gq3rd6de5u Рік тому +3

      ทำให้คนทำงานสายบัญชีอยากกลับไปเรียนสายวิทย์ฯห้องคิงเลยที่เดียว555

  • @sweakyearly6980
    @sweakyearly6980 Рік тому +12

    อยากให้ทำคลิปอธิบาย ทฤษฎีสตริง ครับ

  • @user-vy3fq2wn5m
    @user-vy3fq2wn5m Рік тому +1

    ชอบมาก ยิ่งตอนที่ไปช่องคุณหนุ่ม คงกะพัน ยิ่งสนใจอยากดูทุกตอน สาระแน่น ความรู้สุดๆ

  • @STARDUST_1234
    @STARDUST_1234 Рік тому

    เย้ๆ 😁 มาฟังก่อนนอนนนนน ฝันดีอีกแล้วสินะ อิอิ

  • @abstractperson3332
    @abstractperson3332 Рік тому +5

    ชอบ interstellar มาก ยิ่งมีอะไรแบบนี้ก็ดีเลย เพราะมันโคตรอภิมหาสนุก

  • @wasashichaladdee8749
    @wasashichaladdee8749 Рік тому

    เป็นตอน ที่สนุกมากมองเห็นภาพตามเลยครับ

  • @Owen_P
    @Owen_P 6 місяців тому

    ชอบทุกคลิป กำลังไล่ตามดูให้ครบครับ

  • @reyhan1858
    @reyhan1858 Рік тому

    สนุกมากครับผม ติดตามเกือบทุกคลิป

  • @mologopo
    @mologopo Рік тому +5

    จะเป็นไปได้ไหม ว่าจักรวาล ก็คือโมเลกุล ที่อยู่ภายใต้สิ่งที่ใหญ่กว่าไปเรื่อยๆ เพราะสังเกตุจากการโคจรของดาวฤกษ์ต่างๆ กับลักษณะวงโคจรของอะตอม มีวงโคจรที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน และภาพที่เราเห็นระหว่างโมเลกุลที่อะตอมโคจรรอบๆมันก็เหมือนภาพที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดาวฤกษ์ บางทีโมเลกุลอาจจะเป็นจักรวาลของสิ่งมีชีวิตที่เล็กลงที่เรามองไม่เห็นก็ได้ แบบนี้หรือป่าวที่มันทับซ้อนกันไปเรื่อยๆ ไม่มีที่สิ้นสุด ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราส่องกล้องจุลทรรศน์ เราจะมองเจอพวกแบคทีเรีย และมองให้เล็กลงไปอีกเรื่อยๆ เราก็เจอโมเลกุล อะตอม ควอกซ์ แล้วก็เล็กลงไปเรื่อยๆจนเทคโนโลยีไม่สามารถมองเห็นได้ บางทีเราก็อาจจะเป็นสิ่งที่เล็กมากๆ ที่คนข้างบนมองลงมาอยู่ก็ได้จนเทคโนโลยีเขามองเห็นเราไม่ได้เช่นกัน มันทับซ้อนกันแบบนี้ไปเรื่อยๆรึป่าว ซึ่งสภาวะเวลาของด้านบน ด้านล่างก็ต่างกัน เช่น ภาวะ ด้านล่างที่อยู่ใต้เรานั้น อาจจะเดินไปตามปกติ แต่เราแทบจะหยุดนิ่งถ้าเทียบกับเขา ภาวะของคนด้านบนจึงไม่ส่งผลกระทบกับคนข้างล่าง ทำไมไม่รู้ เราถึงเชื่อแบบนี้มาตลอด จะมีคนคิดแบบเราไหม บางทีจักรวาลที่เราอยู่อาจจะเป็นแค่โมเลกุลอะไรสักอย่าง ที่อยู่บนอากาศหรือคนสัตว์สิ่งของ ของอะไรที่ใหญ่กว่าเราไปอีก 😂

    • @user-cs8bw6uz3j
      @user-cs8bw6uz3j Рік тому

      คนที่คิดแบบคุณมีเยอะครับ ผมก็หนึ่งในนั้น

    • @rchm.8480
      @rchm.8480 Рік тому +2

      เริ่มคิดเหมือนกัน หากมองแบบทางศิลปะคณิตทำให้นึกถึง สัดส่วนทองคำ ที่มีรูปร่าง มุมมองอัตราส่วนที่ลงตัวไปทุกสรรพสิ่ง ตั้งแต่ลักษณะของโค้งก้นหอย ร่างกายมนุษย์ พืช สัตว์ไปจนถึงสเกลที่ใหญ่เช่นกาแลกซี่ ก็วนโค้งก้นหอยอย่างลงตัว หากมอง ใหญ่กว่านี้มันต้องวนแบบ ทับซ้อน อย่างลงตัวไม่มีที่สิ้นสุด มันต้องทับซ้อนกันแน่ๆ แบบนี่เชื่ออย่างงั้น มองให้เห็นภาพ สมมุติ มิติอาจจะเป็นท่อสปริง ที่หมุนวนไปเรื่อยๆกาลเวลาคือสปริงที่หมุนอยู่ในท่ออีกทีทับซ้อนวนเป็นชั้นๆ หมุนวนไปเริ่อยๆ ให้มนุษย์สังเกตตามสัดส่วน จุดสิ้นสุดที่หากมองจากบนยอดสปริงลง มาจะสังเกตได้เป็นก้นหอย เปรียบดั่ง มนุษย์ให้สังเกตได้แค่นี้นะอะไรแบบนี้ แต่หากมองจากมิติภายนอก มันก็คือท่อกาลละเวลา ที่ที่ไว้บรรจุ ในบรรจุอีกทีนึง ทำซ้ำๆ ไม่สิ้นสุดหมุนวนในสัดส่วนนี้ ในมิติที่เราสังเกตได้ ปล.นี่ว่าหลุมดำคือการยุ่งเหยิงของการโค้งงอของสปริงเหมือนเชือกที่ๆไม่คลายปม ไม่ต่อเนื่อง กลายเป็นมีพลังงดูดกลืนสูง แบบขดลวดทองแกงกะแม่เหล็ก ปล.2

    • @user-pn1wi3hg7m
      @user-pn1wi3hg7m Рік тому

      ภาพอะตอมที่เราเห็นกัน มันเป็นภาพจำลอง ให้เห็นรายละเอียดครบตามหลักวิชาการ ซึ่งความจริงแล้วมันไม่ได้มีรูปร่างตามนั่น

  • @maneepanOnwan-lf8em
    @maneepanOnwan-lf8em Рік тому

    ขอบคุณ​ค่ะ​ ท่าน​อาจารย์​ ช่างสงสัยชาแนล.

  • @Farmland2020
    @Farmland2020 Рік тому

    ยอดมากครับ เข้าใจง่าย

  • @ahn5656
    @ahn5656 Рік тому +3

    ขอบคุณสำหรับคลิปดีๆ เนื้อหาแน่นๆ อธิบายเข้าใจง่ายนะครับ เสียงดนตรีแบคกราวด์ช่วงกลางคลิปค่อนข้างดังไปหน่อยครับ ทำให้ฟังเสียงคุณเอกไม่ค่อยชัดครับ

  • @kungbtram
    @kungbtram Місяць тому

    เล่าเรื่องได้ดีที่สุดเลย omg อยากให้ยอดวิวช่องนี้ได้100ล้าน

  • @Thai-Amulets
    @Thai-Amulets Рік тому

    ติดตามตลอดครับ🎉

  • @MOON-xv7ym
    @MOON-xv7ym Рік тому

    ขอบคุณครับแอดมิน

  • @theeraphong80
    @theeraphong80 Рік тому

    ชอบครับมีความรู้ดีครับ

  • @anuwatsiripongbakin5423
    @anuwatsiripongbakin5423 Рік тому +1

    ขอขอบคุณ

  • @mumip9613
    @mumip9613 Рік тому

    สุดยอดเลยค่ะ

  • @user-db3xf5th9h
    @user-db3xf5th9h Рік тому

    สงสัยมานานแล้วครับ ขอบคุณครับ😁

  • @llsdiisjiisj5472
    @llsdiisjiisj5472 Рік тому

    อธิบายแบบลองเทค สุดยอดครับ 😊😊😊

  • @user-xg7vm1dj1y
    @user-xg7vm1dj1y Рік тому

    ตอน 3 มาเมื่อไหร่คับ รออยู่นะคับ 😅
    ฟังอาจารย์ เล่าเพลินมาก เลยครับ 🥰

  • @user-fc6th8xu8d
    @user-fc6th8xu8d Рік тому

    ดีมากครับ

  • @user-cl6nv7eq2n
    @user-cl6nv7eq2n Рік тому

    ขอบคุณมากครับ

  • @ironv1510
    @ironv1510 Рік тому

    สุดยอดครับ

  • @joompoteketkeaw6466
    @joompoteketkeaw6466 Рік тому +2

    ชอบการ tie-in เข้า opthus ที่สุดแล้ว 5555

  • @user-oi1be2qo2i
    @user-oi1be2qo2i Рік тому +1

    ผมอยากรู้อวกาศเห็นสำรวจว่าไปแต่ข้างหน้าอยากรู้ว่ามีใครสำรวจข้างบนอวกาศและข้างล่างอวกาศมันเป็นยังไงบ้างแกอยากรู้เฉยๆสงสัยว่ามันมีอะไรบ้างเห็นแต่ไปแต่มุ่งไปแต่ข้างหน้าหรือว่าโอกาสเป็นลูกแบนอันนี้ผมก็ไม่รู้สำรวจว่าข้างบนอวกาศหรือข้างล่างใต้ลูกของอวกาศเป็นยังไง

  • @momocoong
    @momocoong Рік тому +3

    ชอบตรงเอาการค้นพบกฎฟิสิกส์ใหม่ไปเปรียบกับการเปิดแผนที่โลก ไอเดียการเล่าเรื่องดีมาก

    • @atps2421
      @atps2421 Рік тому +1

      ไอเดียนี่มาจากในหนังสือ Science of interstellar เลยครับ Kip Thorne อุปมาสิ่งต่างๆให้เข้าใจได้ง่ายครับ ที่จริงหนังสือเคยมีการแปลเป็นไทยแล้วนะครับ ตีพิมพ์มา 2 รอบแล้ว แต่ปัจจุบันน่าจะหาซื้อยาก เพราะตีพิมพ์มาตั้งแต่ช่วงที่หนังออกมาใหม่ๆ เลยครับ

    • @momocoong
      @momocoong Рік тому +1

      @@atps2421 อ๋อ โอเค ถือว่ายกตัวอย่างได้เห็นภาพมากๆครับ

  • @SkizzikArm
    @SkizzikArm Рік тому +1

    โห คิดได้ไงอ่ะ เอาไปเปรียบเทียบกับการค้นพบเกาะต่างๆ พูดแล้วเห็นภาพชัดเจนเลย

    • @atps2421
      @atps2421 Рік тому +1

      ไอเดียนี่มาจากในหนังสือ Science of interstellar เลยครับ Kip Thorne อุปมาสิ่งต่างๆให้เข้าใจได้ง่ายครับ ที่จริงหนังสือเคยมีการแปลเป็นไทยแล้วนะครับ ตีพิมพ์มา 2 รอบแล้ว แต่ปัจจุบันน่าจะหาซื้อยาก เพราะตีพิมพ์มาตั้งแต่ช่วงที่หนังออกมาใหม่ๆ เลยครับ

  • @ru1nosukangpalang919
    @ru1nosukangpalang919 Рік тому +1

    จักรวาลแบนราบก็จิง แต่มันมีความลึก และความลึกนี้แหละเป็นมิติที่ซ้อนทับกัน ถ้าเปรียบเทียบให้เห็นภาพ จักวาลคือมหาสมุทร ดาวเคราะห์ต่างๆ เหมือนลูกบอลลอยอยู่บนมหาสมุทร หลุมดำคือวังน้ำวน

  • @user-zn6fe1pv3c
    @user-zn6fe1pv3c Рік тому +1

    Thanks!

  • @oxy20001
    @oxy20001 Рік тому

    Thk a million

  • @user-fl1jt6yw6e
    @user-fl1jt6yw6e Місяць тому

    เกาะนิวตันสามารถวาดให้อยู่รวมเป็นส่วนหนึ่งของเกาะไอสไตน์ได้ เพราะสมการสัมพัทธภาพถ้าย่อลงด้วยเงื่อนไขความเร็วปกติ ความโน้มถ่วงปกติ ก็กลายเป็นสมการนิวตัน

  • @markyku
    @markyku Рік тому

    Thanks

  • @lovelove-gc1hg
    @lovelove-gc1hg Рік тому

    ชอบช่องนี้ที่สุด.ขอบคุณครับ. แต่ผมคิดว่า.มันยังอีกหลายเกาะที่ยังไม่ถูกค้นพบครับ. เพราะมนุษย์เราพอพึ่งเกิดมา หรือ พอพึ่งเริ่มค้นหา. ยังน้อยมากว่ายุคไดโนเสาร์อีก. มั้งครับ. ยังอีกหลายสสาร.ที่มนุษย์ยังไม่รู้จัก.

  • @skylinenitrodrif1967
    @skylinenitrodrif1967 Рік тому

    ปรบมือให้ทีมงานช่องนี้ที่ผลิตสื่อสาระที่ทำเรื่องยากให้น่าสนใจสู่วงกว้างครับ 👏

  • @kanjanaburithailand2706
    @kanjanaburithailand2706 Рік тому

    เรามองเห็นแสงใหมครับ...อยากรู้เรื่องantigravityด้วยครับ

  • @FuHaruka2545
    @FuHaruka2545 Рік тому +1

    ใครอยากดูหนังแนววิทยาศาสตร์ ให้สนุก ให้เข้าใจ ผมแนะนำ เวลาเห็นข่าวเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ต่างๆ ดาราศาสตร์ อย่าพยายามเลื่อนทิ้งให้อ่านพอเป็นความรู้ติดตัวก็ยังดีคับ ลองเปิดใจดูหนังแนวๆนี้ซักหน่อย

  • @nattapolpunpaen2539
    @nattapolpunpaen2539 Рік тому +1

    กฎฟิสิกส์แบบเปรียบเเทบ
    นิสัย+พฤติกรรม=คน
    ประมาณนี้หรือป่าวครับ
    อย่างระเบิด แรงดัน+
    พื้นที่+มวล+ความเร็ว=ความเสียหาย
    ผมที่เข้าใจไกลเครืยงไหมครับ
    แต่มันยังมีอะไรให้บวกกันอีกเยอะเลย✌️

  • @sungkungtv3224
    @sungkungtv3224 6 місяців тому

    คลิป คุณภาพ มากครับ

  • @REAL_OINKGamerYT
    @REAL_OINKGamerYT Рік тому +1

    มาไม่ทันอีกละ😭😭😭

  • @taweesitsupakamon8317
    @taweesitsupakamon8317 Рік тому

    เพจซื้อแว่นชื่ออะไรนะครับ หาเจอแต่อีกเพจหนึ่ง

  • @santascandy4880
    @santascandy4880 Рік тому

    ขออนุญาตสอบถามนะคะ มิติที่5คืออะไรเหรอคะ 🙏

  • @pondspell
    @pondspell Рік тому

    ชอบดูคลิปจากช่องนี้มากครับ ดูทีไรก็เหมือนได้เปิดโลก เสียอย่างเดียวคือสมองผมมันเกินกว่าจะเก็บรับเรื่องพวกนี้ได้ ดูได้ไม่นานก็จะลืม ดูเรื่องใหม่ลืมเรื่องเก่า พอนึกสงสัยก็ย้อนกลับมาดูใหม่ วนไป 55555
    อยากให้อธิบายหน่อยครับว่าถ้ารูหนอนมีจริง ตามทฤษฎีหน้าตาหรือลักษณะรูหนอนควรเป็นยังไง เคยดูมามีหลายแบบที่เขาใช้อ้างอิงกัน

  • @dama-tlou-th
    @dama-tlou-th Рік тому

    เกลียดอีความเนียนเข้าเรื่องขายของแบบแนบเนียนได้อย่างมีเหตุผล😂😂😂

  • @user-bh6ck7ss7b
    @user-bh6ck7ss7b Рік тому

    ชอบที่นำเนื้อหาในเรื่องเข้าโฆษณาได้อย่างไม่รู้ตัวเลย

  • @novembergirl9601
    @novembergirl9601 Рік тому +1

    เป็นหนังเรื่องเดียวที่ดูปีล่ะ 2 ครั้งเป็นอย่างน้อย
    คืองง😅งงแล้วดูอีก อยากเข้าใจมากกว่าจำได้ค่ะ
    วันนี้ได้รู้กัน ควดหวังสุดๆๆ

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  Рік тому +5

      ใจเย็นๆ คร้าบ อันนี้เพิ่งตอน 2 ยังช่วงอินโทร อยู่ ไว้ค่อยๆ จะลงรายละเอียดเรื่องต่างๆ ในตอนถัดๆ ไป

    • @adamfatherofhuman
      @adamfatherofhuman Рік тому +3

      1 ในหนัง sci-fi วิทยาศาสตร์ ที่ดีที่สุดตลอดกาล เพลงธีมคือตราตรึงมากๆ หลักการทางวิทยาศาสตร์คืออัดมาเต็มๆ ดราม่าก็ครบรส

  • @sivapornmiyauchi9942
    @sivapornmiyauchi9942 6 місяців тому

    กฎแห่งกรรม กฎแห่งการกระทำ ควบคุมพวกเราอยู่ เราเป็นนักโทษของจักรวาล

  • @tanakittana5635
    @tanakittana5635 Рік тому

    เครื่องมือที่ค้นหาขั้วโลกใต้คือออกเรือ
    เครื่องมือที่ใช้ค้นหา เกาะความโน้มถ่วง คืออะไร

  • @bloomingmami
    @bloomingmami Рік тому +53

    ว้าวๆๆๆมาแล้ววว มีเรื่องไปคุยกับเพื่อนที่โรงเรียนอีกแล้ววว ขอบคุณครับบบ

    • @user-gk8qm4yh6n
      @user-gk8qm4yh6n Рік тому +2

    • @B0_ne
      @B0_ne Рік тому +11

      คุยเรื่องจักรวาลกับเพื่อนนี้นะ สังคมคุณภาพ

    • @bloomingmami
      @bloomingmami Рік тому +4

      @@B0_ne พอดีพวกผมเรียนสายวิทย์ครับแล้วพวกผมติดตามช่องแนวๆนี้ เวลาคุณน้าคนนี่ลงคลิปอะไรก็จะดูแล้วเอามาคุยกันครับ ^^

    • @user-iz1hm8rc9p
      @user-iz1hm8rc9p Рік тому +2

      เพื่อนผมเเทบไม่รู้เรื่องพวกนี้เลย😂

    • @primeashole1755
      @primeashole1755 Рік тому +4

      @@user-iz1hm8rc9p รุ่นพวกพี่คุยเรื่องนัดส่งใบแก้ 0 ให้พร้อมกัน

  • @dangstyle4187
    @dangstyle4187 Рік тому

    ขัดต่อสามัญสำนึกจริงๆเราจะเชื่อได้อย่างไรที่ พอล ดีแรค บอกว่าทุกสรรพสิ่งในจักรวาลไม่มีอยู่จริง

  • @user-ol1qm9ey7g
    @user-ol1qm9ey7g Рік тому

    วัตถุดวงดาวนี่แหละควบคุมเอกภพ มันโน้มถ่วงเวลา เวลาก็ควบคุมเราอีกทีนึง

  • @user-jw2sw3jo4m
    @user-jw2sw3jo4m Рік тому

    เปรียบเปรยกับแผนที่ได้น่าสนใจมากครับ

  • @OngSK1983
    @OngSK1983 Рік тому +2

    ว๊าววว 🎉

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  Рік тому +2

      สวัสดีคร้าบบ

    • @OngSK1983
      @OngSK1983 Рік тому +2

      Tenet ต้องมาละล่ะ

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  Рік тому +3

      @@OngSK1983 Entorpy มันพูดยากกว่าสัมพัทธภาพ น่ะสิครับ 5555

  • @gatakalop1226
    @gatakalop1226 Рік тому

    ถ้าฝึกร่างกาย ฝึกบนดาวที่เวลาไหลช้าเราก็ได้ร่างกายที่เเข็งเเกร่งโดยที่เราไม่เสียเวลาชีวิตเยอะสินะ

  • @user-go1tz2db4r
    @user-go1tz2db4r 7 днів тому

    เอาตรงๆมันศัยซึ้กกันและกันแล้วโลกอาศัยอะไร😂

  • @nevermore4399
    @nevermore4399 Рік тому

    จะเป็นไปได้ไหมที่ใจกลางหลุมดำมันถูกบีบอัดด้วยแรงโน้มถ่วงจนคลื่นแสงกลายเป็นเนื้อเดียวกัน หรือก็คือค่าของมันเป็น0 เลยไม่มีอะไรที่จะมองเห็นมันได้

  • @Little-u9
    @Little-u9 Рік тому

    สนใจเรียนครับ

  • @user-qu6bi5ss1l
    @user-qu6bi5ss1l Рік тому

    ไหนตอน1ครับ

  • @weedyoutuber8023
    @weedyoutuber8023 5 місяців тому

    แล้วเกาะ เอฟเขฟไอแลน ของ นักวิท ที่เดินไม่ได้ล่ะครับ😂😂😂😂

  • @MrTk3435
    @MrTk3435 Рік тому +2

    พี่ครับ God Equation คืออะไร และ 4 Forces of the Universe ทำไม…ยังไม่จบ …??? ขอบคุณทุกๆ EP. โคตร Cool …ติดตามตลอด 🔥($^___^$)🔥🤟🌟🐳🌹🌻☃️🔥(#^___^#)🔥

  • @banchameejunpech9917
    @banchameejunpech9917 Рік тому

    เพจ ความลับของโลก..แนะนำลองเข้ามาชมนะครับ

  • @DJ_Tar
    @DJ_Tar Рік тому

    โคตรชอบ

  • @REAL_OINKGamerYT
    @REAL_OINKGamerYT Рік тому +1

    อยากรู้ว่าเกาะมีกี่เกาะครับ

    • @phoenixdeeyom1104
      @phoenixdeeyom1104 Рік тому

      ยังไม่มีใครรู้ครับ มีทฏษฎีอีกเยอะที่ยังพิสูจน์ไม่ได้ (ทฤษฏี = เกาะ)

  • @parakornes
    @parakornes Рік тому

    กฎของนิวตันใช้ได้แค่ผิวโลก ไม่สามารถอธิบายเอกภพได้ เช่นจักรวาลกำลังขยายและหดตัวตลอดเวลา

  • @namxaimatsavong916
    @namxaimatsavong916 Рік тому

    0:52 เพราะเชื่อว่า เขามีจริงแต่ก็ไม่รู้เขาอยู่ไหน

  • @jsv693
    @jsv693 Рік тому +1

    เปิดคลิป เหมือนเดินเข้าmuseum digital info geaphic

  • @spond2076
    @spond2076 Рік тому

    บางทีรูหนอน เราอาจพบเจอตอนเราตายก็ได้ หากว่าเราตายแล้วไปได้หายไปเลยอะนะ หลอนๆหาหมอนนอนดีกว่า

  • @kennysleep7007
    @kennysleep7007 Рік тому +1

    อยากทราบว่า ทำไมฟองอากาศในน้ำถึงเป็นทรงกลมและน้ำซึ่งเป็นของเหลวบนโลกพอออกไปนอกอวกาศน้ำจึงเป็นทรงกลม หรือจริงๆแล้วทุกอย่างมีแรงโน้มถ่วงเป็นของตนเองรึเปล่า ก็แค่สงสัยหน่ะครับ ธาตุแต่ละธาตุอาจจะมีแรงโน้มถ่วงเป็นของมันเองก็ได้แค่เราไม่รู้เพราะแรงโน้มถ่วงของโลกมากกว่า😅😢

    • @rotarysuperstar5774
      @rotarysuperstar5774 Рік тому

      ถูกต้องครับ ทุกอย่างที่มีมวล มีแรงโน้วถ่วงในตัวเอง ตามขนาดมวลครับ

    • @phoenixdeeyom1104
      @phoenixdeeyom1104 Рік тому

      ก็มีแรงดึงดูดระหว่างมวลของอะตอม และแรงนิวเคลียสแบบอ่อน ซึ่งเป็นแรงดึงดูดระหว่างอนุภาคอีก ส่วนแรงโน้มถ่วง มีอนุภาค ชื่อ กราวิตอน ที่เป็นแคริออร์ของแรงโน้มถ่วง และยังมีแรงมืด สสารมืดในอวกาศอีก ที่ทำให้ของเหลวเป็นทรงกลมอยู่ได้ แล้วเคยได้ยินแรงตึงผิวของของเหลวไหมครับ นั่นแระครับ คือ แรงยึดเหนี่ยวของอะตอม H2O

    • @user-pn1wi3hg7m
      @user-pn1wi3hg7m Рік тому

      การกระจายสมดุล ครับ ไม่มีแรงโน้มถ่วง

    • @kennysleep7007
      @kennysleep7007 Рік тому

      @@user-pn1wi3hg7m งั้นน้ำที่อยู่นอกอวกาศก็เป็นเหมือนฟองน้ำ ก็คือการกระจายสมดุลไม่มีแรงโน้มถ่วงหรอครับ

    • @user-pn1wi3hg7m
      @user-pn1wi3hg7m Рік тому

      @@kennysleep7007 นอกอวกาศมันก็ไม่มีแรงโน้มถ่วงอยู่แล้ว ที่มันเกาะกลุ่มกันเพราะแรงตึงผิวน่ะ

  • @preechalitkum4969
    @preechalitkum4969 Рік тому +1

    ตอน1อยู่ไหครับ?

    • @atps2421
      @atps2421 Рік тому +1

      อยู่นี่ครับ ua-cam.com/video/dNLeeI8GuAo/v-deo.html

  • @user-pk6sl1bm9q
    @user-pk6sl1bm9q Рік тому

    เกาะความโน้มถ่วงเชิงควันตั้ม มีอยู่จริง!!!
    คุณลุงหนวดขาวได้กล่าวไว้

  • @jasunkl1706
    @jasunkl1706 Рік тому

    นักสื่อสารวิทยาศาสตร์

  • @Tuck-LoveX
    @Tuck-LoveX 13 днів тому

    2.55

  • @MrLemonchang
    @MrLemonchang Рік тому

    ว่าแต่ทำไมแนวคิดของนิวตันเป็นกฎ แต่ของไอสไตน์ยังเป็นทฤษฎีอะ ส่วนควอนตัมคิดว่ายังไม่นิ่งคงเป็นทฤษฎีอยู่

  • @Souksarkhon
    @Souksarkhon Рік тому

    ຄວາມຮູ້ ຄວາມຄີດ ຄວາມຊົງໃສ່
    ຄົບຈົບຢູ່ບອນດຽວ💪🏻🥰

  • @johnlo397
    @johnlo397 Рік тому

    หลุมดำคือรูหนอน

  • @user-vr8mb9vd2p
    @user-vr8mb9vd2p Рік тому +1

    แล้วอะไร? ใหญ่แค่ไหน? ที่บรรจุเอกภพ นี้ละ

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  Рік тому +3

      Bulk ในทฤษฎี Brane and Bulk ครับ en.wikipedia.org/wiki/Brane_cosmology
      แต่มันยังเป็นแค่สมมุติฐาน ยังไม่ได้ยืนยันว่ามีจริงครับ

    • @user-pn1wi3hg7m
      @user-pn1wi3hg7m Рік тому

      ถ้าบรรจุเอกภพ ก็ใหญ่กว่าเอกภพ

  • @natthawutphusomnuek2730
    @natthawutphusomnuek2730 Рік тому

    ปวดหัวมากครับ

  • @MrBarbarborbor
    @MrBarbarborbor Рік тому

    ข้างในหลุมดำมีอะไร

  • @dellavita3463
    @dellavita3463 Рік тому

    อยากได้หนังสือ kip thorne อ้นนั้นจัง ในเว็บขายแพงมาก

    • @atps2421
      @atps2421 Рік тому

      ที่จริงหนังสือเคยมีการแปลเป็นไทยแล้วนะครับ ราคาย่อมเยากว่าเวอร์ชั่น Eng ฉบับไทยตีพิมพ์มา 2 รอบแล้ว แต่ปัจจุบันน่าจะหาซื้อยาก เพราะตีพิมพ์มาตั้งแต่ช่วงที่หนังออกมาใหม่ๆ เลยครับ

  • @aimcool77
    @aimcool77 Рік тому

    แม้มแรก

  • @mumip9613
    @mumip9613 Рік тому

    เย่ๆ

  • @user-theeraphat090
    @user-theeraphat090 Рік тому

    เรามาเรียนรู้ เจาะระบบกฏเกณฑ์ วิศวกรรมของพระเจ้ากัน!

  • @ssmootoo5250
    @ssmootoo5250 4 місяці тому

    สรุป พวกเทวาดาที่อายุมากๆ โลกของเค้าก็คงอยู่ใกล้หลุมดำสินะ 😂😂😂

  • @walkafterworkwaw7641
    @walkafterworkwaw7641 Рік тому +1

    คิดเล่นๆ แบบไร้สาระ ถ้าผืนอวกาศ และความโน้มถ่วง ก็เป็นความน่าจะเป็น แต่ความน่าจะเป็นของมันเยอะมากๆจนไม่รูสึกถึงความต่าง ทำให้เราทดลองกี่ครั้ง ผลมักจะออกมาเหมือนเดิม หรือแท้จริงความโน้มถ่วงก็เป็นความน่าจะเป็น

  • @somboonkamlungjai273
    @somboonkamlungjai273 Рік тому

    MOONFALL
    ua-cam.com/video/lv8l2Y2I6_g/v-deo.html

  • @sarratwng9655
    @sarratwng9655 Рік тому

    เรือเเล่นทวนกระเเสน้ำลอดใต้สะพาน ระหว่างตอหม้อกระเเสน้ำเเรงขึ้นทำให้เรือเเล่นช้าลงเเละเมื่อผ่านพ้นจุดนั้นไป เรือก็เเล่นได้เร็วขึ้น ผมนึกถึงตัวเราคือเรือตอหม้อสะพานคือหลุมดำเเละน้ำคืออวกาศ ถูกหรือเปล่าวครับ

  • @mobileg443
    @mobileg443 Рік тому

    แต่ก่อนไม่เคยสนใจเรยเรื่องแบบนี้ แต่ตอนนี้มันถึงเวลาที่จะต้องเรียนรุ้แล้วแหระ มันเริ่มมาใกล้ตัวเราแล้วแหระ

  • @rush_kansri2678
    @rush_kansri2678 11 місяців тому

    mother of particle control universe

  • @rush_kansri2678
    @rush_kansri2678 11 місяців тому

    แรงเร่งอนุภาคพื้นฐาน mother of particle

  • @rush_kansri2678
    @rush_kansri2678 11 місяців тому +1

    การควบคุมแรงโน้มถ่วงทำได้จริง ufo ควบคุมแรงอนุภาคพื้นฐานทำได้จริงถ้าคุณรู้จักการเคลื่อนตัวของ ufo คุณจะเขัาใจและคุณต้องรู้จัก mother of particle

  • @tomfreedom4712
    @tomfreedom4712 Рік тому +1

    เคยเจอสลิ่มโปรจีนบอกควันตั้มไม้มีจริง แต่มือถือที่มึงใช้เม้นก็ได้มาจากเทคโนโลยีควันตั้ม 😏

    • @user-pn1wi3hg7m
      @user-pn1wi3hg7m Рік тому

      มือถือธรรมดาครับ ไม่ใช่ควอมตัม

  • @user-mn1bx3yv7c
    @user-mn1bx3yv7c Рік тому

    สุดยอดครับ

  • @maxrama5182
    @maxrama5182 Рік тому +1

    เข้าสำรวจกันยังไงเขาใช้วิธีอะไรถึงรู้ว่าพื้นแผ่นดินเป็นรูปทรงใหนอยากให้ทำเรื่องนี้มั่งครับ

  • @MrNeoNos
    @MrNeoNos Рік тому +4

    Thanks!

  • @user-jr9kh6jm1x
    @user-jr9kh6jm1x Рік тому

    สุดยอดครับ