Basic Data Structure 2 (Tree / Graph) | C++ DSA EP. 5

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 15 лип 2024
  • ☕️ สนับสนุนช่องเราด้วยการสมัครสมาชิกช่องทางนี้ได้เลย
    / @mikelopster
    สวัสดีสู่ตอนที่ 5 ของ C++ DSA ในหัวข้อนี้เราจะมาต่อกันใน Basic Data Structure ต่อว่าด้วยเรื่องของรูปแบบการเก็บข้อมูลอีก 2 ประเภทที่เสริมพลังของ Data Structure นั่นคือ Tree และ Graph กัน ว่ามันคืออะไร มีรูปแบบการเก็บเป็นแบบไหน และตัวอย่างการประยุกต์ใช้ร่วมกับ code สามารถเขียนออกมารูปแบบไหนได้บ้าง มาเรียนรู้ในหัวข้อนี้กัน
    โดยในหัวข้อนี้เราจะพูดถึง
    1. Data Structure ทั้ง 2 ประเภทคือ Tree และ Graph ว่าคืออะไร
    2. รูปแบบการเขียน Code ของ Tree และ Graph
    3. การเขียน code เพื่อทำ Tree Traversal และ Graph Traversal
    4. การต่อยอดของ Tree และ Graph ที่จะนำไปสู่หัวข้อต่อไป
    หากใครเรียนจบหัวข้อนี้ ยินดีด้วย Basic Data Structure skill unlocked เป็นที่เรียบร้อย 😆 หัวข้อต่อไปเราจะเริ่มเข้าสู่หัวข้อของ algorithm ในแต่ละรูปแบบกันน
    หัวข้อ
    00:00 แนะนำหัวข้อ / ย้อนความ Data Structure
    03:57 แนะนำ Tree และ Graph เบื้องต้น
    05:49 แนะนำภาพรวมหัวข้อจะพูดถึงอะไรบ้าง
    07:44 Recursive คืออะไร
    08:30 ตัวอย่าง 1 - Factorial
    12:44 ตัวอย่าง 2 - Fibonacci
    16:31 แนะนำ Tree และองค์ประกอบของ Tree
    19:18 Tree ฉบับ code (พื้นฐาน insert, traversal)
    27:55 พื้นฐานของการเดินทางใน Tree (Tree Traversal) BFS และ DFS
    31:11 Tree - Breadth-first search (BFS)
    37:39 Tree - Depth First Search (DFS) แบบ recursive
    41:54 Tree - Depth First Search (DFS) แบบ stack
    46:20 Tree ประเภทอื่นๆ
    50:07 แนะนำ Graph และองค์ประกอบของ Graph
    54:17 Graph ฉบับ code - matrix style
    59:44 Graph ฉบับ code - linked list style
    1:05:24 Graph - Breadth-first search (BFS)
    1:13:30 Graph - Depth First Search (DFS)
    1:18:32 Graph ประเภทอื่นๆ
    1:19:37 สรุปหัวข้อทั้งหมด และ แนะนำเพิ่มเติม
    สำหรับใครอยาก follow ตามเอกสาร สามารถเข้ามาอ่านกันได้เล้ยที่นี่
    docs.mikelopster.dev/c/c-dsa/...
    ใครมีข้อสงสัยเพิ่มเติม มาพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้กันได้ที่
    Facebook page: / mikelopster.dev
    Website: mikelopster.dev
    แปะพิกัดของที่ผมใช้
    shope.ee/8A54c8cfkf ของที่ตั้งอยู่ด้านหลัง
    shope.ee/6fI75UuLEM osmo pocket 3
    shope.ee/4VDcVixCW9 ไมค์ shure
    shope.ee/6pbXI6d5xG กล้องวงจรปิด
  • Наука та технологія

КОМЕНТАРІ • 7

  • @pvdpvd
    @pvdpvd Місяць тому

    ขอบคุณครับเข้าใจง่ายเลย กดติดตามแล้วครับ คลิปสอนดีมากๆ

  • @saysamone6144
    @saysamone6144 4 місяці тому +1

    จะสนับสุนช่องพี่โดยการสมัครสมาชิกแต่กดลิ้งแล้วมันมืดหมดเลยกดอะไรก็ไม่ได้เป็นแค่ของผมหรือเปล่าอ่ะ😅

    • @mikelopster
      @mikelopster  4 місяці тому

      ลองกดโดยการเข้าผ่านทาง channel: Mikelopster ได้เช่นกันนะครับ กดผ่านปุ่ม Join ได้เลย 😆

  • @pongsathonwongondee1457
    @pongsathonwongondee1457 4 місяці тому

    weighted graph เรา flag weight แทน flag 1 ไม่ได้หรอ

    • @mikelopster
      @mikelopster  4 місяці тому +1

      ใช้ได้ครับ จริงๆ จากตัวอย่างนี้ เราสามารถใช้ weight เป็นอะไรก็ได้นะครับ

    • @pongsathonwongondee1457
      @pongsathonwongondee1457 4 місяці тому

      @@mikelopster ถ้าพี่พูดอย่างนี้แสดงว่าตัวอย่างต่อไป weight อาจจะไม่ใช่แค่ตัวเลขสินะครับ การweight โดย pointer เลยยังมีประโยชน์ รอดูเลยครับ

    • @mikelopster
      @mikelopster  4 місяці тому +1

      ใช่ครับ มันจะใช้จริงๆกันในเรื่อง Graph Algorithm ซึ่งเดี๋ยวเราจะมาลงลึกกันใน weight อีกทีครับ 😁