คำเป็น คำตาย แยกง่ายสบายบรื๋อ

Поділитися
Вставка
  • Опубліковано 22 січ 2022
  • สั่งทำชาร์ตไวนิลการสอน ติดต่อ : 081 3082049
    ติดต่อเชิญครูก้อยเป็นวิทยากร ติดต่อ : 0817578854
    #เด็กอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้แก้ง่ายนิดเดียว
    #อ่านออกเขียนได้
    #คำเป็นคำตาย
    #ในดวงตาปทุมสูติ
    #เด็กอ่านไม่ออก
    #แจกลูกสะกดคำผันเสียง
    #เรียนออนไลน์
    #เทคนิคการสอนภาษาไทย
    #สระเปลี่ยนรูปสระลดรูป
    #ครูก้อย
    #อักษรไทย
    #ภาษาไทย

КОМЕНТАРІ • 15

  • @user-sn4vk8xh8e
    @user-sn4vk8xh8e Місяць тому +1

    ครูก้อยสอนเข้าใจดีค่ะ

  • @user-sn4vk8xh8e
    @user-sn4vk8xh8e Місяць тому +1

    สินเข้าใจดีมากเลยค่ะ

  • @user-hd2vu2th1t
    @user-hd2vu2th1t 28 днів тому +1

    เข้าใจง่ายมากค่ะ

  • @udompanasirinon
    @udompanasirinon 2 роки тому +1

    😇

  • @udompanasirinon
    @udompanasirinon 2 роки тому +1

    ขอบคุณครูมากครับ

  • @bobowtanaporn
    @bobowtanaporn Рік тому +1

    ❤❤❤❤

  • @LearnThaiwithNative
    @LearnThaiwithNative 2 роки тому +2

    ครูอธิบายเข้าใจดีมากค่ะแต่สงสัยว่าคำเป็นคำตายมันเอาไปใช้ตอนไหน มันมีผลยังไงต่อการอ่านคะ

    • @Kru_Koi-Naiduangta
      @Kru_Koi-Naiduangta  2 роки тому

      หากตอบแบบตรงประเด็นในการใช้ของเด็กๆ มากที่สุดก็คือ ใช้ตอบข้อสอบค่ะ😆
      แต่ถ้าจะตอบตามประโยชน์การใช้งานก็มีหลายประเด็นมากค่ะบางเรื่องอธิบายสั้นๆได้ แต่บางเรื่องต้องใช้พื้นฐานทักษะทางภาษาในทางลึก จึงจะนำประโยชน์ของการแยกคำเป็นคำตายไปใช้ได้อย่างตรงจุดค่ะ
      ประโยชน์ตรงๆ หลักๆ ก็คือเพื่อให้รู้หลักในการผันเสียงค่ะ เพราะคำเป็นกับคำตาย แม้นจะใช้พยัญชนะหมู่เดียวกัน แต่จะผันคนละเสียง คนละแบบ ซึ่งถ้าแยกเป็นตายไม่ได้ ก็อาจผันผิด ได้ค่ะ
      หรือถ้าเราแยกคำเป็นคำตายถูก เราจะรู้เสียงของคำพื้นเสียง แล้วผันเสียงคำต่อได้อย่างแม่นยำ เป็นเสมือนคีย์ลัดในการทำความเข้าใจเรื่องของคำที่มีรูปและเสียงวรรณยุกต์ไม่ตรงกัน ซึ่งมีเยอะมาก เช่น คำว่า ตัด ดูเผินๆ อาจคิดว่าเสียงสามัญ แต่ถ้าคนที่แยกคำเป็นคำตายออกจะรู้ทันทีว่านี่เป็นเสียงเอก โดยไม่ต้องไล่ผันเสียง เพราะรู้กฎของคำพื้นเสียงว่า อักษรกลางคำตายพื้นเสียงจะเป็นเสียงเอก แต่ถ้าไม่รู้ว่านี่เป็นหรือตายก็อาจต้องไล่ผันหรือนับนิ้ว
      หรือในกรณีการใช้คำเป็นคำตายแบบตรงตัวก็คือ ใช้เขียนคำประพันธ์ค่ะ เช่น ในบทร้อยกรองทุกประเภทจะมีการบังคับเสียงท้ายวรรค และเสียงท้ายวรรคไม่ควรลงด้วยคำตาย เพราะเสียงจะไม่ไพเราะ (อันนี้เสิตจากกูเกิลดูนะคะไม่งั้นยาว😅) แม้แต่งานเขียนร้อยแก้วเองก็ตาม การเลืแกใช้คำเป็นคำตายมาใช้ในบางประโยค ก็มีผลต่อความราบรื่นสละสลวยของภาษาที่ใช้ในงานเขียนนั้นๆ
      ซึ่งหลักๆ มันคือความรู้พื้นฐาน ในการต่อยอดไปเรียนรู้วิชาทางภาษาในทางลึกของคนในกลุ่มอาชีพที่ใช้ภาษาไทยเป็นหลักค่ะ ซึ่งพอเอ่ยถึงคำเป็นคำตาย ก็จะเป็นศัพท์ที่เข้าใจได้ทันที โดยไม่ต้องมานั่งอธิบายยืดยาวว่าหมายถึงคำแบบใด
      เอาเข้าจริงๆ ถ้าครูก้อยสอนเด็ก ป.๑ ก็จะยังไม่อธิบายเรื่องคำเป็นคำตายค่ะ แต่จะเน้นพาผันเสียงให้คล่อง แต่เมื่เเด็กโตขึ้น การแยกแยะเรื่องนี้ได้ มันจะเเสมือนคีย์ลัดในการทำความเข้าใจเรื่องการผันเสียงได้เร็วขึ้นค่ะ
      ตอนเด็กๆ ครูก้อยก็สงสัยค่ะ ว่าเรียนไปทำไม จวบจนโตขึ้นเราจึงรู้ว่ามันสำคัญมากจริงๆ

  • @user-pj8dd6vw4k
    @user-pj8dd6vw4k Рік тому +1

    ครูก้อยครับผมอยากได้หนังสือครับ😍😍😍😍

  • @user-qx6fv6qz8l
    @user-qx6fv6qz8l Місяць тому

    สอบถามค่ะ กรณี 1 คำมี 2 พยางค์เช่น กระป๋อง คำนี้เป็นคำเป็นหรือคำตายคะ