- 760
- 1 772 636
กรมศิลปากร
Thailand
Приєднався 20 бер 2020
กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐ ซึ่งมีภารกิจเกี่ยวกับการคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาติ
กรมศิลปากร มีหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลศิลปวัฒนธรรมของชาติแขนงต่าง ๆ ได้แก่ งานด้านโบราณคดี ประวัติศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ สถาปัตยกรรม หัตถศิลป์ นาฏดุริยางคศิลป์ ด้านเอกสาร ภาษา และหนังสือ ด้านการจัดการศึกษาศิลปวัฒนธรรม
กรมศิลปากร มีหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลศิลปวัฒนธรรมของชาติแขนงต่าง ๆ ได้แก่ งานด้านโบราณคดี ประวัติศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ สถาปัตยกรรม หัตถศิลป์ นาฏดุริยางคศิลป์ ด้านเอกสาร ภาษา และหนังสือ ด้านการจัดการศึกษาศิลปวัฒนธรรม
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ”
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การอ่านถ่ายถอดเอกสารโบราณ”
วิทยากร
นายวัฒนา พึ่งชื่น นักภาษาโบราณชำนาญการพิเศษ สำนักหอสมุดแห่งชาติ
ผู้ดำเนินรายการ
นายสิทธิพร บุปผา นักวิชาการเผยแพร่ กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
Guitar Miniature No. 1 in D major by Steven O’Brien
/ stevenobrien
Creative Commons - Attribution 3.0 Unported- CC BY 3.0
Free Download / Stream: bit.ly/steven-obrien-g
Music promoted by Audio Library
• Guitar Miniature No. 1 in D major ua-cam.com/video/odX6_g_ADOQ/v-deo.html
วิทยากร
นายวัฒนา พึ่งชื่น นักภาษาโบราณชำนาญการพิเศษ สำนักหอสมุดแห่งชาติ
ผู้ดำเนินรายการ
นายสิทธิพร บุปผา นักวิชาการเผยแพร่ กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
Guitar Miniature No. 1 in D major by Steven O’Brien
/ stevenobrien
Creative Commons - Attribution 3.0 Unported- CC BY 3.0
Free Download / Stream: bit.ly/steven-obrien-g
Music promoted by Audio Library
• Guitar Miniature No. 1 in D major ua-cam.com/video/odX6_g_ADOQ/v-deo.html
Переглядів: 180
Відео
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง แหล่งรวบรวมความรู้ทางประวัติศาสตร์ ”
Переглядів 19014 днів тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง แหล่งรวบรวมความรู้ทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีของเมืองภูเก็ต” วิทยากร นายกานต์ รับสมบัติ หัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง ผู้ดำเนินรายการ นายสิทธิพร บุปผา นักวิชาการเผยแพร่ กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ #กรมศิลปากร #ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ Guitar Miniature No. 1 in D major by Steven O’Brien / stevenobrien Creative Commons - Attribution 3.0 Un...
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การบูรณะภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยอยุธยาตอนปลาย วัดปราสาท นนทบุรี“
Переглядів 20621 день тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การบูรณะภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยอยุธยาตอนปลาย วัดปราสาท นนทบุรี“ วิทยากร นายอลงกรณ์ เทียมจันทร์ นายช่างศิลปกรรมอาวุโส กองโบราณคดี นายศุภกิจจ์ เสถียรอินทร์ นักวิชาการช่างศิลป์ชำนาญการ กองโบราณคดี ผู้ดำเนินรายการ นายสิทธิพร บุปผา นักวิชาการเผยแพร่ กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ #กรมศิลปากร #ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ Guitar Miniature No. 1 in D major by Steven O’Brien / steve...
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “๔ วัด ๑ วัง เมื่อครั้งต้นกรุงฯ”
Переглядів 361Місяць тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “๔ วัด ๑ วัง เมื่อครั้งต้นกรุงฯ” วิทยากร นายพนมบุตร จันทรโชติ อธิบดีกรมศิลปากร นางสาวสุกัญญา เบาเนิด ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๓ พระนครศรีอยุธยา นางสาวธิดากานต์ พักตร์จันทร์ หัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จันทรเกษม ผู้ดำเนินรายการ นายสิทธิพร บุปผา นักวิชาการเผยแพร่ กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ #กรมศิลปากร #ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ Guitar Miniature No. 1 in D major by S...
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “คลังสิ่งพิมพ์กับการให้บริการเอกสารอ้างอิง”
Переглядів 99Місяць тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “คลังสิ่งพิมพ์กับการให้บริการเอกสารอ้างอิง” วิทยากร นางอัจฉรา จารุวรรณ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ สำนักหอสมุดแห่งชาติ นายสรพล ขาวสะอาด หัวหน้าคลังสิ่งพิมพ์ สำนักหอสมุดแห่งชาติ ผู้ดำเนินรายการ นายสิทธิพร บุปผา นักวิชาการเผยแพร่ กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ #กรมศิลปากร #ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ Guitar Miniature No. 1 in D major by Steven O’Brien / stevenobrie...
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “รัชกาลที่ ๕ กับพระบรมราโชบายในการว่าจ้างชาวต่างชาติ”
Переглядів 316Місяць тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “รัชกาลที่ ๕ กับพระบรมราโชบายในการว่าจ้างชาวต่างชาติ” วิทยากร นางสาวนันทพร บรรลือสินธุ์ ผู้อำนวยการกลุ่มแปลและเรียบเรียง สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ นางสาวปภัชกร ศรีบุญเรือง นักอักษรศาสตร์ชำนาญการพิเศษ กลุ่มแปลและเรียบเรียง สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ ผู้ดำเนินรายการ นางกมลชนก พรภาสกร นักวิชาการโสตทัศนศึกษา กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ #กรมศิลปากร #ไขความรู้จากคร...
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ หอศิลป”
Переглядів 150Місяць тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ สู่ผลงานสะสมของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป” วิทยากร นางสาววัชราภรณ์ มธุรกันต์ ภัณฑารักษ์ชำนาญการ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป นางสาวณิชนันท์ รักพงษ์ไทย ภัณฑารักษ์ปฏิบัติการ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป ผู้ดำเนินรายการ นางกมลชนก พรภาสกร นักวิชาการโสตทัศนศึกษา กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ #กรมศิลปากร #ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ Guitar Miniature N...
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “คูเมือง-กำแพงเมือง ล้านนา” ตอนที่ ๒
Переглядів 3462 місяці тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “คูเมือง-กำแพงเมือง ล้านนา” ตอนที่ ๒ วิทยากร นายชินณวุฒิ วิลยาลัย ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ นายยอดดนัย สุขเกษม นักโบราณคดีชำนาญการ สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ นางสาวนงไฉน ทะรักษา นักโบราณคดีชำนาญการ สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ ผู้ดำเนินรายการ นายสิทธิพร บุปผา นักวิชาการเผยแพร่ กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ #กรมศิลปากร #ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ Guitar Minia...
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “คูเมือง-กำแพงเมือง ล้านนา” ตอนที่ ๑
Переглядів 6962 місяці тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “คูเมือง-กำแพงเมือง ล้านนา” ตอนที่ ๑ วิทยากร นายชินณวุฒิ วิลยาลัย ผู้อำนวยการสำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ นายยอดดนัย สุขเกษม นักโบราณคดีชำนาญการ สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ นางสาวนงไฉน ทะรักษา นักโบราณคดีชำนาญการ สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่ ผู้ดำเนินรายการ นายสิทธิพร บุปผา นักวิชาการเผยแพร่ กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ #เชียงใหม่ #ล้านนา #กรมศิลปากร #ไขความรู้จากครูกร...
การสัมมนาทางวิชาการเรื่อง"วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลายที่กรมศิลปากรตรวจสอบใหม่" ๒
Переглядів 3812 місяці тому
การสัมมนาทางวิชาการเรื่อง"วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลายที่กรมศิลปากรตรวจสอบใหม่" ณ โรงแรม Centara Life Hotel Bangkok Phra Nakhon #กรมศิลปากร
การสัมมนาทางวิชาการเรื่อง"วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลายที่กรมศิลปากรตรวจสอบใหม่" ๑
Переглядів 3742 місяці тому
การสัมมนาทางวิชาการเรื่อง"วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนปลายที่กรมศิลปากรตรวจสอบใหม่" ณ โรงแรม Centara Life Hotel Bangkok Phra Nakhon #กรมศิลปากร
โครงการเสวนาทางวิชาการด้านประวัติศาสตร์และจารีตประเพณี เรื่อง "เทเวศร์ที่(ไม่)รู้จัก" ๒
Переглядів 4342 місяці тому
โครงการเสวนาทางวิชาการด้านประวัติศาสตร์และจารีตประเพณี สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ เรื่อง "เทเวศร์ที่(ไม่)รู้จัก" ณ โรงแรม Centara Life Hotel Bankok Phra Nakhon เขตพระนคร กรุงเทพฯ #กรมศิลปากร
โครงการเสวนาทางวิชาการด้านประวัติศาสตร์และจารีตประเพณี เรื่อง "เทเวศร์ที่(ไม่)รู้จัก" ๑
Переглядів 3652 місяці тому
โครงการเสวนาทางวิชาการด้านประวัติศาสตร์และจารีตประเพณี สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ เรื่อง "เทเวศร์ที่(ไม่)รู้จัก" ณ โรงแรม Centara Life Hotel Bankok Phra Nakhon เขตพระนคร กรุงเทพฯ #กรมศิลปากร
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การตั้งพระราชาคณะในรัชกาลปัจจุบัน”
Переглядів 1872 місяці тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การตั้งพระราชาคณะในรัชกาลปัจจุบัน” วิทยากร นางสาวระชา ภุชชงค์ นักอักษรศาสตร์ชำนาญการ สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ นายเอกลักษณ์ ลอยศักดิ์ นักอักษรศาสตร์ปฏิบัติการ สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ ผู้ดำเนินรายการ นางกมลชนก พรภาสกร นักวิชาการโสตทัศนศึกษา กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ #กรมศิลปากร #ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ #พระราชาคณะ Guitar Miniature No. 1 in D major by Ste...
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “ระบบศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร”
Переглядів 1962 місяці тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “ระบบศูนย์ข้อมูลงานศิลปกรรม สำนักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร” วิทยากร นางประภาพร ตราชูชาติ นักวิชาการช่างศิลป์ชำนาญการพิเศษ รักษาการในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านช่างศิลปกรรม (วิจัยและพัฒนาศิลปกรรม) นางสาวชุตินันท์ กฤชนาวิน นักวิชาการช่างศิลป์ชำนาญการ สำนักช่างสิบหมู่ ผู้ดำเนินรายการ นายสิทธิพร บุปผา นักวิชาการเผยแพร่ กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ #ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ...
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “เปิดลายแทงบูชาพระพิฆเนศ เทพพระเจ้าแห่งความสำเร็จ”
Переглядів 3943 місяці тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “เปิดลายแทงบูชาพระพิฆเนศ เทพพระเจ้าแห่งความสำเร็จ”
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “โบราณวัตถุล้ำค่าพุทธศรัทธาบูชาพระพุทธชินราช"
Переглядів 4663 місяці тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “โบราณวัตถุล้ำค่าพุทธศรัทธาบูชาพระพุทธชินราช"
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “อนัมนิกายในสยาม”
Переглядів 3393 місяці тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “อนัมนิกายในสยาม”
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “ศาลาไทยในต่างแดนที่ดำเนินการโดยกรมศิลปากร”
Переглядів 2843 місяці тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “ศาลาไทยในต่างแดนที่ดำเนินการโดยกรมศิลปากร”
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การอนุรักษ์โบราณสถานตามมาตรฐานกรมศิลปากร”
Переглядів 2604 місяці тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การอนุรักษ์โบราณสถานตามมาตรฐานกรมศิลปากร”
การแถลงข่าวการประกาศขึ้นทะเบียนอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท เป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม
Переглядів 4444 місяці тому
การแถลงข่าวการประกาศขึ้นทะเบียนอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท เป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม
ไขความรู้ ฯ “เปิดบ้านหอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม”
Переглядів 1284 місяці тому
ไขความรู้ ฯ “เปิดบ้านหอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนา นครพนม”
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การซ่อมบูรณะ-ประดับตกแต่งเรือพระราชพิธี ”
Переглядів 7794 місяці тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การซ่อมบูรณะ-ประดับตกแต่งเรือพระราชพิธี ”
ร่วมส่งกำลังใจเชียร์ให้ภูพระบาท ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมแห่งใหม่ของไทย
Переглядів 5994 місяці тому
ร่วมส่งกำลังใจเชียร์ให้ภูพระบาท ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมแห่งใหม่ของไทย
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “เปิดโฉมใหม่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย”
Переглядів 5814 місяці тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “เปิดโฉมใหม่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย”
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การขุดค้นและการศึกษาทางโบราณคดี ณ วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร”
Переглядів 1 тис.5 місяців тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “การขุดค้นและการศึกษาทางโบราณคดี ณ วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร”
งานมหรสพสมโภช เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
Переглядів 4095 місяців тому
งานมหรสพสมโภช เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “เมนูสำรับ กับข้าวเจ้านายในราชสำนักสยาม”
Переглядів 4405 місяців тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน “เมนูสำรับ กับข้าวเจ้านายในราชสำนักสยาม”
กิจกรรม "เล่าขานประวัติศาสตร์ไทยจากเอกสารต่างประเทศ"
Переглядів 2,2 тис.5 місяців тому
กิจกรรม "เล่าขานประวัติศาสตร์ไทยจากเอกสารต่างประเทศ"
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน "สำนักช่างสิบหมู่" แหล่งเพาะบ่มสืบทอดวิทยาการด้านศิลปกรรมของไทย
Переглядів 4735 місяців тому
ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ ตอน "สำนักช่างสิบหมู่" แหล่งเพาะบ่มสืบทอดวิทยาการด้านศิลปกรรมของไทย
ขอมก็บรรพบุรุษของคนไทยกับเขมรนั้นหละ เถียงกันทำมั้ย ญาติๆกันนั้นหละ นิสัยก็ไม่ได้ต่างกันนัก
😂 ถามอ้ายสุจินต์โปรเขมรดู ดิ... ทุกวันนี้เขมรเอาคลิปอ้ายนี่มาอ้างความชอบธรรมว่า นักวิชาการไทยยังพูดยืนยันเอง...อะไรที่เป็นของไทย ไปดูคลิปมันพูด ดิ
เนรคุณ 4-5ครั้ง มาขอกำลัง อยุธยา-รัตนโกสินทร์ ให้ไปทวงอำนาจ ไม่นึกถึงประชาชน ห่วงอำนาจตัวเอง มีสงคราม ในเมือง ดึง เวียตนาม ดึง สยาม มารบในประเทศตัวเอง มายัน สมัย เขมร แดง โง่ดักดาน กูเอกราช เอง ไม่เป็น ต้อง ขอร้องชาติอื่นมาช่วย สยาม เวียตนาม ฝรั่งเศส ตัวเองดึงมาเองทั้งนั้น แล้วไปโทษชาตือื่น นิสัยเห็นแก่ตัว 😂😊
ศรียโสธร มีความสัมพันธ์ดีกับ ละโว้ สุโขทัย สยาม แล้วอยุธยา ไปตีเมืองพระนครทำไม ? เมื่อขับไล่หนีไปอยู่ทางใต้จนทิ้งพระนคร แล้วอยุธยาก็ไม่ตามไปตีอีก ?
ขุนและขอมเป็นโอรสของเจ้าเมืองสุวรรณภูมิขอมคือผู้คิดตัวหนังสือขอมๆผู้พี่เสียสละให้ขุนผู้น้,องครองเมืองสุวรรณภูมิส่วนขอมผู้พี่มาสร้างเมืองใหม่ที่พิมายมีกษัตริย์ปกครองคือตระกูลวรมัน
ขอมยิ่งใหญ่มาช้านาน
😊
ถ้าขอม มาจากคำว่า กะหรอม, เขมร เทียบกันแล้วก็มาจากคำว่า กเมร และคำนี้ก็มีด้วยนะ
មិនមែនឈ្មោះប្រាសាទស្ដុកកកធំទេ គឹប្រាសាទព្រះអងធំ ខ្មែរខើញព្រះធំ ថាៈ ព្រះអងធំ ខើញព្រះតូច ថាៈ ព្រះអងតូច
บ้านเก่า ที่เราเกิด สั้นๆแต่ตอบทุกคำถาม ว่าฅนไทยมาจากไหน? เราอยู่ที่นี้มาตลอด พัฒนาต่อยอด สืบทอดกันมา จากรุ่นสู่รุ่น ตั้งแต่27000ปีจนถึงปัจจุบัน
วาระสารกรมราชฑัน
ป่าสมุนไพรปู่ย่าย้ายหายไปตามเวลาครับ
ขอพระองค์ทรงมีพระสุขภาพพระพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ทุกชาติไป
ชำระประวัติศาสตร์ได้แล้ว เฒ่ากรมศิลป เต่าล้านปี ตามยุคหน่อย
อยากให้ดูนักวิชาการพม่าอ่านจารึกที่พม่าได้บันทึกเอาไว้ในหลักศิลาผลปรากฎว่าขอมคือคนไทยที่อาศัยอยู่ในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ua-cam.com/video/hjdow14m7YE/v-deo.html
มันมีอารยธรรมไหนมั้ยครับที่เก่ากว่าเขมร...เห็นมีแต่เขมรๆ จนเขมรปัจจุบันบอกว่าไทยขโมยวัฒนธรรม มันขโมยกันได้เหรอครับวัฒนธรรมเนี่ย...สงสัยจริงๆ
นคร ธมม น่าจะแปลว่าธรรมมะหรือสิ่งดีงามมากกว่า เจ้าชัยวรมันไม่น่าจะโง่ตั่งชื่อเมืองแค่เพราะมันใหญ่หรอก ผมคิดมาตลอดเลยว่ารากฐานลึกๆใต้นั้นต้องมีการฝังสิ้งอันเป็นมงคลอะไรไว้ อาจจะคล้ายๆลูกนิมิตร
ภาษาเขมรปัจจุบัน ถูกประดิษฐ์ขึ้นเมื่อ ร.4 โดย สมเด็จพระสังฆราชองค์แรกของเขมร ที่มาเรียนในเมืองสยาม โดยดัดแปลงจาก ภาษาขอมไทย ทำให้ภาษาเขมร กับ ภาษาขอมโบราณ เป็นไปได้ที่จะมีความหมายต่างกันบ้าง
มียักษ์วัดโพธิ์อีกสี่ตนที่ชื่อว่า ทศกัณฐ์ สหัดหะเดชะ อินทรชิต สุริยาภพ ไหมคับ
ขอพระองค์ ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน
~Great video!
ปี28ทำงานที่เรด้า ทอ.พบสตรีบนหลังคาปราสาทด้านหน้าคืนพระจันทร์เต็มดวงสวมเสื้อคล้ายรูปภาพพระแม่ลักษฌืเสี้อผ้าพริ้วตามลมแต่ไม่มีลมดูอยู่นานนึกได้วิ่ง เช้าใส่บาตรกลับไปดูที่เก่ามีแต่หลังคาหินทางช้ายมือด้านหน้า😢
จากที่อาจารย์อธิบาย ทำให้ได้ความรู้เพิ่มขึ้น และก็มีข้อสงสัยเพิ่มเติม คือ ที่มีหลักฐานบันทึกไว้ว่าศรีจนาศะอยู่นอกกัมพุชะ ก็เลยเกิดคำถามต่อว่าแล้วพี้นที่กัมพุชว่ามีทำเลและขนาดอยู่ตรงไหน อยู่เท่ากับแผนที่ประเทศเขมรในปัจจุบัน หรือ เป็นพื้นที่พาดเชื่อมโยงกันระหว่างแอ่งโคราช ลุ่มน้ำมูล ไปจนถึงทะเลสาปเขมร หรือ ขนาดเท่าแขมร์เอ็มไพล์อย่างที่เขมรชอบ ฝรั่งเศสเขียนไว้ให้ครับ (ถามไว้แต่คงจะไปหาอ่านต่อเองล่ะครับ) ขอบคุณครับ
แล้วของพม่า ล่ะ ฉบับไหน น่าเชื่อถือที่สุด ล่ะ ของ ลาว/เขมร ไม่ต้องสนใจ รู้กันดี รับอิทธพลรัตนโกสิน พงศาวดารสยาม ไปชัดเจน ไปเขียนในมุมตัวเอง เวลาทามไลน์ตรงกันแบบเห็นได้ชัด คือ ก๊อปไป บิดเบือนเหตุการณ์ ชัดๆ มีทุกเรื่องที่ไทยเขียน แต่เปลี่ยนมุมเข้าข้างตัวเอง แต่ ของพม่า เค้าไม่ได้ก๊อป เลยน่าค้นหากว่า
พิมาย แดนดินถิ่นโบราณก่อเกิดกำเนิดชุมชนอารยธรรมลุ่มน้ำมูลขยายเครือข่ายสู่เมืองพระนครกัมพูชาและเมืองใหญ่ในเขตลุ่มน้ำเจ้าพระยา
❤❤❤❤❤
วัฒนธรรมแขมร-มอญ กลืนสุโขทัยอยุธยา500ปี ต่อมารัตนโกสินทร์กลืน กลับ200ปี🎉 เมื่อขับไล่สะบาดลำพง ออก ตั้งสุโขทัย ใช้อักษรแขมรเก่า สะกดออกเสียงภาษาไท และการทำเครืีองบายศรี ใ้ช้มโหรี ฆ้อง ระนาด ที่หลวงพระบางของล้านช้าง พระฤษีแขมร ช่วยเอา อักษรแขมรสะกดภาษาลาว ดนตรีระนาดฆ้อง🎉
เห็นกรมศิลปกร...จะใช้คำว่าเขมรโบราณ ไม่ใช่คำว่า ขอม เพราะมันยังกำกวมไม่แน่ชัดว่าวัฒนธรรมอะไร.......แต่ทำไมในพจนานุกรมกำหนดว่า ขอม คือ เขมร แล้วคำว่า...เขมรโบราณ จะหมายถึงคนละกลุ่มกับ เขมรปัจจุบัน หรือครับ........ทำไม ตั้งแต่สุโขทัยถึงมีคำว่าขอม(จารึก)...แสดงว่าก่อนสุโขไทมันต้องมีร่องรอยคำว่าขอมมาก่อนและอาจจะเกี่ยวข้องกันหรือไม่.........การจารึกคำว่าขอมลงไป หรือ ชาวบ้านเรียกกันจนติดปาก อาจจะมีอะไรที่เป็นสิ่งสำคัญ ที่ทำให้จำ และ ต้องบันทึก และมาจนถึงพูดกันผิดเพี้ยน..... อีกอย่าง....การเรียก(คน)ทางใต้ ว่าขอม...แล้วถ้าเรียกกันเป็น(ทิศ)ใต้สมัยนั้นเขาเรียกว่าอะไรครับ...
ขอบคุณสำหรับการวิเคราะห์โดยละเอียด! แค่คำถามเล็ก ๆ น้อย ๆ นอกเรื่อง: OKX wallet ของฉันมี USDT และฉันมีวลีการกู้คืน. (alarm fetch churn bridge exercise tape speak race clerk couch crater letter). วิธีที่ดีที่สุดในการส่งพวกมันไปยัง Binance คืออะไร?
เคยไปชม1ครั้ง ทรงคุณค่ามากค่ะ
เห็นเบื้องหลังสักทีเพื่อนบอกว่าเค้าอยู่ด้านหลังค่ะ😂😂เคยไปค่ะทัศนศึกษา
ขอบคุณความรู้ดีๆครับ❤
ขอบพระคุณครับ❤
คนไทยรู้จักเพาะปลูกทำเกษตรกรรมเลี้ยงสัตว์ ปลูกบ้านเรือนย่อมไม่ใช่เผ่าเร่ร่อน หรืออพยพมาจากไหน
เราเอามาหรือขอมเป็นบรรพบุรุษของเราสายหนึ่ง ที่อาจารณ์พูดเรื่องขอมมีแต่การสันนิษฐาน เกิดก่อนTrasok Paemยึดอำนาจหรือภายหลังยึดอำนาจไปแล้ว ถ้าภายหลังถ้าขอมมารวมกับสยาม มันแทบจะเป็นความชอบธรรมที่มันจะเกิดขึ้นในสยาม เขมรนำคำพูดอาจารณ์ไปแคบแล้วเคลมทุกสิ่งที่สยามทำมา คำไม่กี่คำมันละเอียดอ่อน
สุโขทัยไม่เคยได้ชื่อว่าเป็นพระนคร
ขอม คือลูกหลาน ของพระเจ้าชัยวรมัน
วัดไชยวัฒนารามเหมือนสร้างสมัยอยุธยาตอนกลางไม่ใช่หรอครับ
ขุนและขอมเป็นโอรสของเจ้าเมืองสุวรรณภูมึ ขุนเก่งการทหาร ขอมเป็นนักคิดขอมเป็นคนคิดลายสือไทหรือตัวหนังสือขอม ภายหลังต่อมาใครเก่งการทหารก็ถูกยกย่องให้เป็นขุน ใครเก่งเรื่องช่างก็ถูกยกย่องให้เป็นขอม
กรมศิลป์ไม่น่าเรียกพระเจ้าอู่ทอง ผังเมืองสุโขทัย ระบบชลประทานก็น่าจะเป็นฝีมือวิศวกรเขมรหรือเลียนแบบเขมรมา😢
น้ำหน้าเขมรมันจะทำอะไรได้ ขอมเป็นคนสร้าง แต่นักวิชาการไทยไปเชื่อข้อมูลไอ้ฝรั่งยัดข้อมูลใส่หัวให้เขมรสร้า งแต่ทุกวันนี้ไม่มีใครเขาเชือข้อมูลเฮงซวยของนักวิช่เกินของไทยแล้
อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญภาษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชื่อสจ๊วต เจ.ราช ได้ทำเพจ เปรียบเทียบภาษาขอมโบราณและเขมร นั้นมีความแตกต่างกัน ถึงแม้มองผิวเผินมันอาจจะคล้ายกันด้านรูปลักษณ์แต่มันไม่เหมือนกันนะครับ
อาจารย์คนนี้มาทีไรเดาได้อยู่แล้ว แต่ผมยังไม่ค่อยเชื่อถือ สิ่งที่เซื่ยมโยงต้องมากกว่านี้ครับ มันดูลอยๆ อ้างบุคคลที่สันนิษฐานในยุคนั้น ข้อมูลก็ควรมีการอัพเดตตลอดครับ
นักวิชาการอธิบายให้ มั่ว 10 ก็ 10 อย่าง เอาง่ายๆ เราเรียกว่าฝรั่งก็หมายถึง คนที่อาศัยอยู่บริเวณ ทวีปยุโรป เช่น อังกฤษ สหรัฐ ฝรั่งเศส เป็นต้น ขอมก็เหมือนกันหมายถึง คนโบราณที่อาศัยอยู่ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น สยาม เขมร ลาว เวียดนาม พม่า เป็นต้น เพราะฉะนั้นขอมก็ไม่ใช่ คนในประเทศกัมพูชา เพียงประเทศเดียว วัฒนธรรม ของขอมจึงกระจายไปทั่ว ทั้งเขมร ไทย พม่าฯ
คนไทยเรียกเขมรมานานนมแล้วหรือนี่
It seems that Dr. Santi Phakdikha is not well-liked by many of the viewers. You are attempting to direct them in the right direction instead of them simply despising the truth and accusing you of being a Thai of Khmer descent. I am thankful that you took the time to present Khmer history in an impartial manner. As a Khmer myself, we lost a lot of time and history due to negative impact in the past. Thank You!
ขอมล่องมาจากแม่นำ้ขอมครับ จากม.พรหมบุตรถึงหนองแสขอมเดินทางไปตามเส้นทางสายไหมมาก่อนประวัติศาสตร์แล้วครับ เส้นทางนี้เมื่อแพร่พระศาสนาชาวศศาดยะแล่นเรือลงมาปักใบสีมารอบสิม มากมายจนคนเรียกว่าเมืองสิมที่มาตั้งเมืองเสมาที่โคราช นั่นแหละครับชาวสิมหรือ สยํ ที่ปรากฏบนกำแพงนครวัด นครวัดสร้างในปี ๒๗๕ จนสิ้นชาวศากยะ แขกดำดราวิเดี่ยนปกครองต่อ ไปดูจารึกบนใบเสมาจะรู้ครับ ต่องง
นักประวัติศาสตร์พม่าบอกในศิลาจารึกที่ขุดพบในพม่าบอกว่า ขอม คือ ชาวสยาม และอีกอย่าง พระเจ้าชัยวรมัน ที่บอกว่าเป็นขอม ที่ถูกทาสทำร้ายจนถึงแก่ชีวิต นายแตงหวาน ต้นตระกูลเขมร และผลวิจัย ทาง DNA ของชาวเขมร ไม่ใกล้เคียงกับคนในภูมิภาคนี้แต่ดันไปคล้ายคนในหมู่เกาะของอินโดคืออะไร ua-cam.com/video/QxC5G05xuSg/v-deo.htmlsi=k4mbdesf7u5ywRSo
เขมร เป็น เผ่า จามปา กี่เปอร์เซนต์ คับ
ครูให้ดูเชยๆหรอก😂😂😂😂😂 8:00
😮😮
ขอพระองค์ทรงพระเจริญ