Warunee_a
Warunee_a
  • 250
  • 304 237

Відео

องค์คณะผู้พิพากษาและอำนาจผู้พิพากษาคนเดียว ม.24-25(3)
Переглядів 315Рік тому
องค์คณะผู้พิพากษาและอำนาจผู้พิพากษาคนเดียว ม.24-25(3)
อำนาจของหัวหน้าและผู้ทำการแทนศาลยุติธรรม
Переглядів 148Рік тому
อำนาจของหัวหน้าและผู้ทำการแทนศาลยุติธรรม
สรุปเรื่องสิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับคดีอาญา
Переглядів 736Рік тому
สรุปเรื่องสิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับคดีอาญา
ความเป็นผู้เสียหายโดยพฤตินัยและนิตินัย2
Переглядів 5282 роки тому
ความเป็นผู้เสียหายโดยพฤตินัยและนิตินัย2
ความเป็นผู้เสียหายโดยพฤตินัยและนิตินัย 1
Переглядів 6542 роки тому
ความเป็นผู้เสียหายโดยพฤตินัยและนิตินัย 1
เงื่อนไขการฟ้องคดีของพนักงานอัยการ
Переглядів 4572 роки тому
เงื่อนไขการฟ้องคดีของพนักงานอัยการ
ขอบเขตพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
Переглядів 1672 роки тому
ขอบเขตพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
ภาพรวมกฎหมายลักษณะพยาน
Переглядів 5132 роки тому
ภาพรวมกฎหมายลักษณะพยาน
การอุทธรณ์คำพิพากษาคดีอาญา
Переглядів 6762 роки тому
การอุทธรณ์คำพิพากษาคดีอาญา
อำนาจผู้พิพากษาคนเดียวคดีอาญา ม.25 (5)
Переглядів 2192 роки тому
อำนาจผู้พิพากษาคนเดียวคดีอาญา ม.25 (5)
การพิพากษาคดีอาญา ม.192
Переглядів 2,9 тис.2 роки тому
การพิพากษาคดีอาญา ม.192
จำเลยรับสารภาพในชั้นพิจารณา
Переглядів 3652 роки тому
จำเลยรับสารภาพในชั้นพิจารณา
อำนาจผู้พิพากษาคนเดียวคดีแพ่ง
Переглядів 3482 роки тому
อำนาจผู้พิพากษาคนเดียวคดีแพ่ง
การขาดนัดคดีอาญา
Переглядів 6102 роки тому
การขาดนัดคดีอาญา
ชั้นตรวจฟ้องคดีอาญา
Переглядів 2972 роки тому
ชั้นตรวจฟ้องคดีอาญา
คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องคดีอาญา
Переглядів 2942 роки тому
คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องคดีอาญา
สิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับ
Переглядів 2492 роки тому
สิทธินำคดีอาญามาฟ้องระงับ
ระยะเวลาการฟ้องคดีเด็กและเยาวชน
Переглядів 2592 роки тому
ระยะเวลาการฟ้องคดีเด็กและเยาวชน
การฟ้องคดีอาญาและการถอนฟ้องคดีอาญา
Переглядів 3632 роки тому
การฟ้องคดีอาญาและการถอนฟ้องคดีอาญา
อำนาจผู้พิพากษาคนเดียว ม.24 และ ม.25(1)-(2)
Переглядів 1762 роки тому
อำนาจผู้พิพากษาคนเดียว ม.24 และ ม.25(1)-(2)
เขตอำนาจสอบสวนและเขตอำนาจศาลตาม ป.วิ.อ.
Переглядів 2882 роки тому
เขตอำนาจสอบสวนและเขตอำนาจศาลตาม ป.วิ.อ.
การสอบสวนเด็กเยาวชนผู้กระทำความผิด
Переглядів 2072 роки тому
การสอบสวนเด็กเยาวชนผู้กระทำความผิด
องค์คณะผู้พิพากษาตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
Переглядів 1552 роки тому
องค์คณะผู้พิพากษาตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
เรียนออนไลน์ เรื่อง เขตอำนาจสอบสวน ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 18-19
Переглядів 2,9 тис.2 роки тому
เรียนออนไลน์ เรื่อง เขตอำนาจสอบสวน ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 18-19
เรียนออนไลน์ เรื่อง การจับกุมเด็กและเยาวชนผู้กระทำความผิด 20220728 130143 Meeting Recording
Переглядів 4122 роки тому
เรียนออนไลน์ เรื่อง การจับกุมเด็กและเยาวชนผู้กระทำความผิด 20220728 130143 Meeting Recording
มาตรา 16 วรรคสามและ มาตรา 19/1 วรรคแรก พระธรรมนูญศาลฯ
Переглядів 4632 роки тому
มาตรา 16 วรรคสามและ มาตรา 19/1 วรรคแรก พระธรรมนูญศาลฯ
บททั่วไปกฎหมายคดีเด็กและเยาวชน
Переглядів 9552 роки тому
บททั่วไปกฎหมายคดีเด็กและเยาวชน
เขตอำนาจศาลตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
Переглядів 2002 роки тому
เขตอำนาจศาลตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
อำนาจหัวหน้าและผู้ทำการแทนตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
Переглядів 622 роки тому
อำนาจหัวหน้าและผู้ทำการแทนตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม

КОМЕНТАРІ

  • @kadoryai5028
    @kadoryai5028 4 дні тому

    ฟังจบเข้าใจแบบท่องแท้เลยครับ นำมาใช้ในการอ่านทบทวนก่อนสอบได้ดีมากครับขอบพระคุณมากครับ

  • @kadoryai5028
    @kadoryai5028 4 дні тому

    ตั้งแต่ผมเปิดดูคลิปหลายหลายคลิปคลิปนี้ที่อาจารย์ลงสอนหรือไม่ว่าจะเป็นคลิปเกี่ยวกับรายวิชาพระธรรมนูญศาลที่ทำไม่ว่าจะเป็นคลิปไหนๆ ไม่สามารถที่จะอธิบายได้ดีเท่าคลิปของอาจารย์เลยครับขอบพระคุณมากครับ❤❤❤❤❤

  • @torng3040
    @torng3040 12 днів тому

    แชร์ได้ไหมครับ

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 12 днів тому

      @@torng3040 ได้เลยค่ะ

  • @keeditator
    @keeditator 20 днів тому

    หนูเรียนนิติฯ ที่ มสธ. ค่ะอาจารย์ กำลังจะสอบวิอาญาวันเสาร์นี้ เปิดมาเจอคลิปสอนของอาจารย์พอดี เทคนิคที่อาจารย์ให้เหมือนไฟฉายเลย หนูกำลังเบลอเรื่องฎีกาพอดี โดยทั่วไปหนูจะได้เจออาจารย์ที่ ม. ตัวเองในคลาสออนไลน์เทอมละ 4 วันค่ะ ที่เหลือต้องขวนขวายเอาเอง ขอบพระคุณอาจารย์มากๆ นะคะ

  • @PhooTawan-w5z
    @PhooTawan-w5z 20 днів тому

    ขอบคุณครับ

  • @PhooTawan-w5z
    @PhooTawan-w5z 22 дні тому

    ขอบคุณครับดีมากเลยครับ

  • @vipdee2423
    @vipdee2423 2 місяці тому

    โฆษณาเยอะไปหน่อยครับ

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 2 місяці тому

      ต้องขออภัยด้วยนะคะคลิปลงไว้นานแล้ว เดี๋ยวเข้าไปดูแก้ไขให้ค่ะ

  • @OnjiraJaifan
    @OnjiraJaifan 2 місяці тому

    ขอบพระคุณท่านอาจารย์ค่ะ หนูกลับมาฟังทบทวนก่อนสอบราชการค่ะ คิดถึงเสียงอาจารย์มากๆเลยค่ะ #ศิษย์เก่า63 ค่ะ ❤❤❤

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 2 місяці тому

      @@OnjiraJaifan เห็นชื่อแล้วอาจารย์จำชื่อได้ ขอให้ประสบความสำเร็จในการสอบนะคะ

    • @OnjiraJaifan
      @OnjiraJaifan 2 місяці тому

      @warunee_a495 ขอบคุณค่ะอาจารย์ 🙏💕

  • @seriesaddict7778
    @seriesaddict7778 2 місяці тому

    ขอบคุณสำหรับคลิปมากๆๆค่ะอาจารย์

  • @happyhappy-xw1kj
    @happyhappy-xw1kj 3 місяці тому

    ขอบคุณอาจารย์มากๆเลยค่ะ หนูเรียนในห้องไม่ค่อยเข้าใจเลย พอมาดูคลิปอาจารย์ทำให้หนูเข้าใจและเป็นแนวทางในการศึกษาต่อง่ายขึ้น ปล.เสียงอาจารย์สบายหู ไพเพราะน่าฟังมากเลยค่ะ❤🎉

  • @สมบัตินามบุรี

    ขอบพระคุณท่านอาจารย์เป็นประโยชน์มากๆครับ

  • @สมบัตินามบุรี

    ขอบพระคุณท่านอาจารย์ผมเรียนจบมานานแล้วแต่ฟังท่านเพื่อทบทวนได้แนวคิดการเรียนดีมากๆครับ

  • @สมบัตินามบุรี

    ขอบคุณท่านอาจารย์อย่างสูงครับ

  • @เย็บปักถักร้อยตามใจเรา

    ถ้าโจทย์เป็นผู้กระทำความผิดในการยักยอกทรัพย์มรดกกับผู้จัดการมรดกในคดีก่อนและตำรวจกำลังสืบสวนสอบสวนอยู่และเราเป็นผู้ฟ้องเพิกถอนนิติกรรมในส่วนของคดีแพ่งและสามีคำพิพากษาให้เพิกถอนกลับคืนสู่ความมรดกแล้วและโจทย์ได้กลับมาฟ้องเท็จกล่าวหาว่าผู้จัดการมรดกไม่แบ่งทรัพย์มรดกให้ถือได้ว่าเขาเป็นผู้เสียหายโดยนิตินัยได้ด้วยเหรอคะ

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 4 місяці тому

      อาจารย์ไม่แน่ใจว่าแปลคำถามได้ถูกต้องหรือไม่นะคะจากความเข้าใจของอาจารย์คำถามคือ โจทก์ฟ้องผู้จัดการมรดกว่าไม่แบ่งทรัพย์มรดกให้(เดาว่าเป็นคดีแพ่ง) ซึ่งก่อนนี้โจทก์เคยถูกกล่าวหาว่าได้กระทำความผิดยักยอกทรัพย์มรดกกับผู้จัดการมรดก(อยู่ระหว่างการสืบสวนสอบสวนของตำรวจ) และโจทก์เคยถูกทายาทฟ้องเพิกถอนนิติกรรมในคดีแพ่งและศาลพิพากษาให้เพิกถอน ถามว่าโจทก์จะฟ้องเรียกทรัพย์มรดกเป็นผู้เสียหายโดยนิตินัยหรือไม่ คำตอบคือถ้าเป็นโจทก์ในคดีแพ่งแม้จะมีส่วนผิดในเรื่องที่ถูกโต้แย้งสิทธิก็สามารถฟ้องได้ไม่ได้คำนึงถึงในความเป็นผู้เสียหายโดยนิตินัย ดังนั้นจึงฟ้องได้ค่ะ

    • @เย็บปักถักร้อยตามใจเรา
      @เย็บปักถักร้อยตามใจเรา 4 місяці тому

      @@warunee_a495 ขอบคุณค่ะ

  • @สินพินตันสุรีย์

    ขอขอบพระคุณมากเลยครับ เข้าใจง่ายตัวอย่างชัดเจน🙏🙏

  • @สินพินตันสุรีย์

    อาจารย์สอนเข้าใจได้ง่ายมากเลยครับ บวกกับตัวอย่างที่ชัดเจน

  • @สถิตย์บุญยงค์

  • @nitdanmark3099
    @nitdanmark3099 4 місяці тому

    อุทธรณ์ ไมแจ้ง ผู้เสียหาย ทนายผิดกฎหมาย ข้อใดโดย อ้างติดต่อทางเราไม่ได้โดยไม่มีสาเหคุนี้เราต้องยี่นร้องหน่วยงานแล้วแต่เงียบไม่ลงโทษ ทนาย ใดๆเลย

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 4 місяці тому

      @@nitdanmark3099 ต้องดูว่าหนังสือตั้งทนายเราได้ให้อำนาจทนายความยื่นอุทธรณ์ได้ไหมหากมีการให้อำนาจไว้การที่ทนายเรายื่นอุทธรณ์โดยฝ่าฝืนความต้องการของลูกความก็สามารถให้ทนายถอนอุทธรณ์ได้ค่ะ

  • @Tonsjsihd
    @Tonsjsihd 4 місяці тому

    ขอบคุณมากๆค่ะอาจารย์ เห็นด้วยค่ะ ฟัง+เลคเชอร์ + ไปอ่านเข้าใจมากขึ้นจริงๆค่ะ

  • @kittipongg7594
    @kittipongg7594 4 місяці тому

    มาตรา21/1 ในกรุงเทพฯ ผู้บัญชาการตำรวจนครบาล หรือผบ.ตร.ชี้ขาดครับ

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 4 місяці тому

      ผู้บัญชาการซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของพนักงานสอบสวนตาม มาตรา 21/1 ถ้าเป็นกรุงเทพมหานครก็คือ ผบ.ตร.เท่านั้น ซึ่งถ้าหากคาบเกี่ยวกับจังหวัดอื่นด้วยก็จะไปพิจารณาตามมาตรา 21 ค่ะ

    • @kittipongg7594
      @kittipongg7594 4 місяці тому

      จังหวัดอื่น คือ ผู้บัญชาการภาคนั้นๆ ถ้าเป็นกทม. กลับไปใช้ ม.21 คือ ผบ./รอง เข้าใจถูกไหมครับ

    • @kittipongg7594
      @kittipongg7594 4 місяці тому

      @@warunee_a495 ขอบคุณมากครับผมฟังวิ.อาญา กับพยานทุกคลิปเลย

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 4 місяці тому

      @@kittipongg7594 ในต่างจังหวัดหากอยู่ในภูมิภาคเดียวกันคือผู้บัญชาการภาตตามมาตรา 21/1 แต่หากคนละภูมิภาคคืออัยการสูงสุดตามมาตรา 21 กรุงเทพฯเช่นเดียวกันค่ะคือ อัยการสูงสุดกรณีคาบเกี่ยวกับจังหวัดอื่น

    • @kittipongg7594
      @kittipongg7594 4 місяці тому

      @@warunee_a495 ขอบคุณมากๆครับ ผมฟังวิ.อาญา &พยาน ทุกคลิปเลย -/\-

  • @Tonsjsihd
    @Tonsjsihd 4 місяці тому

    อาจารย์ม.พะเยาสอนดีมากค่ะ ❤

  • @Tonsjsihd
    @Tonsjsihd 4 місяці тому

    ขอบคุณที่อ.ทวนให้ค่ะ

  • @Tonsjsihd
    @Tonsjsihd 4 місяці тому

    20:14 นาทีนี้เสียงหาไปเลยค่ะ 😢

  • @Tonsjsihd
    @Tonsjsihd 4 місяці тому

  • @Maymeeni
    @Maymeeni 5 місяців тому

    ขอบคุณอาจารย์ม.พะเยามากๆเลยค่ะ กดฟังเพื่อเตรียมสอบนิติกร ศาลเยาวชน ได้ความรู้มากๆค่ะ

  • @เย็บปักถักร้อยตามใจเรา

    เรียยกับอาจารยได้ทึ่ไหนค่ะอย่กเรัยน

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 5 місяців тому

      คณะนิติศาสตร์ ม.พะเยาค่ะ

    • @เย็บปักถักร้อยตามใจเรา
      @เย็บปักถักร้อยตามใจเรา 5 місяців тому

      @@warunee_a495 อยู่โคราชเรียนทางยูทูปได้ไหมค่ะ ขอบคุณค่ะ

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 5 місяців тому

      @@เย็บปักถักร้อยตามใจเรา สามารถติดตามศึกษาจากเพลลิสในยูทูปได้เลยนะคะหากมีคำถามไม่เข้าใจเรื่องไหนสามารถโพสถามใต้คลิปได้แล้วอาจารย์จะมาตอบให้

    • @เย็บปักถักร้อยตามใจเรา
      @เย็บปักถักร้อยตามใจเรา 5 місяців тому

      @@warunee_a495 ขอบคุณค่ะ

  • @jamn7124
    @jamn7124 5 місяців тому

    อ.ครับ. อำนาจของหน.ในการบริหารสถานที่ เช่น ห้องน้ำ อาคาร อยู่ในมาตราใดครับ

  • @jamn7124
    @jamn7124 5 місяців тому

    อ.ครับ ในคดีฆ่าผู้อื่น หน.ศาลจว.แห่งหนึ่ง จ่ายสำนวนให้ นาย ก.ข. เป็นองค์คณะ ระหว่างพิจารณาสื่อลงข่าวเป็นที่สนใจของประชาชน หน.ศาล จะกำหนดให้ตนเองเข้าเป็นองค์คณะเพิ่มอีก 1 คน (หรือมอบหมายให้ นาย ค. นาย ง. เข้านั่งพิจารณาคดีร่วม) ตามมาตรา 11 (1) ได้หรือไม่ครับ (ที้งนี้ไม่มีกรณีเหตุสุดวิสัยฯครับ)

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 4 місяці тому

      สามารถกำหนดให้ตนเข้าไปเป็นองค์คณะร่วมได้ตามมาตรา 11(1) อย่างช้าที่สุดคือก่อนมีการสืบพยาน แต่จะกำหนดให้ผู้พิพากษาคนอื่นเข้าไปร่วมภายหลังทำไม่ได้เพราะไม่มีกฎหมายให้อำนาจค่ะ

    • @jamn7124
      @jamn7124 4 місяці тому

      @@warunee_a495 ขอบคุณครับ

    • @jamn7124
      @jamn7124 4 місяці тому

      @@warunee_a495 ขอบคุณครับ

    • @jamn7124
      @jamn7124 4 місяці тому

      @@warunee_a495 ขอบคุณครับ

  • @006กฤษณ์ม
    @006กฤษณ์ม 5 місяців тому

    อธิบายให้เข้าใจได้ดีมากเลยครับ

  • @เย็บปักถักร้อยตามใจเรา

    เดิมจำเลยเป็นโจทฟ้องโจทกผู้ยักบอกมรดก

  • @เย็บปักถักร้อยตามใจเรา

    จำเลยถูกกลั่นแกล้งไม่ได้ทำผิดโจกเป็นคนยักยอกมรดกแต่มาแกล้งฟ้องเท็จ

  • @ปรัชญ์นันท์แก้วฉบับ

    คดียักยอกทรัพย์ เกี่ยวกับรับจำนำรถค่ะ (หนูเป็นจำเลยที่1 ส่วนจำเลยที่2 ติดอยู่เรือนจำ ) ศาลชั้นต้นตัดสินไปแล้ว หนุไปติดในเรือนจำเกือบ5เดือนและได้รับการประกันตัวออกมา แต่ตอนนี้หนูหนีศาล และไม่ได้ยื่นอุทธรณ์ ซึ่งตอนนี้โจทก์จะถอนฟ้องให้เพราะหนูตกลงจะจ่ายโจทก์ ถ้าโจทก์ถอนฟ้องไปแล้วหนูจะกลับไปติดอีกไหมคะพี่ทนาย

  • @สามมิตรประชานุรัช

    ถ้าฟ้องควบแบบนี้แล้ว จะฟ้องแพ่งเพิ่มอีกไม่ได้วช่มั้ยคะ ถืแว่าคดีจบแลเวใช่มั้ยคะ

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 7 місяців тому

      ต้องพิจารณาว่าในคดีอาญาฟ้องขอในส่วนแพ่งเรื่องไหน หากได้มีการขอในคดีอาญาไปแล้วจะไปฟ้องเรียกร้องส่วนแพ่งเรื่องนั้นเป็นคดีแพ่งไม่ได้อีก เช่น ฟ้องคดีลักทรัพย์เป็นคดีอาญาและขอให้คืนทรัพย์หรือใช้ราคาทรัพย์แล้วเมื่อศาลคดีอาญามีคำพิพากษาแล้วแม้จะได้ทรัพย์ในลักษณะไม่เหมือนเดิม จะไปฟ้องทางแพ่งให้คืนราคาอีกไม่ได้ แต่ถ้าฟ้องทางแพ่งเรียกดอกเบี้ยกรณีผิดนัดตั้งแต่วันลักอย่างนี้ในคดีอาญาขอมาไม่ได้ สามารถฟ้องเป็นคดีแพ่งต่างหากได้ค่ะ

  • @9decemberyoungstonerboy
    @9decemberyoungstonerboy 7 місяців тому

    ขอบคุณครับ

  • @presidentJPz
    @presidentJPz 7 місяців тому

    เอ็นดูวอาจารย์ ช่างเงียบเหงาเหลือเกิน 5555555

  • @เจมจิมาเเล้ว
    @เจมจิมาเเล้ว 7 місяців тому

    ขอบคุณมากครับอาจารย์

  • @NutKorawitTH
    @NutKorawitTH 7 місяців тому

    ฟังแล้วเข้าใจมากขึ้นครับ ขอบคุณครับ

  • @pongpatprasitthinawa616
    @pongpatprasitthinawa616 7 місяців тому

    เสียงหายครับ

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 7 місяців тому

      ua-cam.com/video/HN1Qgrmf8Ms/v-deo.html เนื้อหาในเสียงที่หายไปสามารถเข้าฟังเก็บตกในคลิปนี้แทนได้นะคะ

  • @surapondechratanavichai2267
    @surapondechratanavichai2267 7 місяців тому

    ขอบคุณครับ

  • @surapongsaiwong6941
    @surapongsaiwong6941 7 місяців тому

    บรรยายดีมากครับ

  • @เจมจิมาเเล้ว
    @เจมจิมาเเล้ว 7 місяців тому

    อาจารยมีคอสติวไหมครับ ผมฟังอาจารย์ เข้าใจมากเลย หลังจากที่ไม่เข้าใจหลายๆครั้ง

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 7 місяців тому

      อาจารย์ไม่ได้เปิดคอร์สติว ขอบคุณมากที่ทำให้รู้ว่าคำบรรยายนี้ให้ประโยชน์ต่อผู้ฟังทำให้มีกำลังใจในการสอนขึ้นเยอะเลยค่ะ

  • @smartagent2163
    @smartagent2163 7 місяців тому

    มาตรา 84 คุ้มครองจริงหรือไม่? หากหน่วยงานรัฐนำประวัติเด็กมาตัดสินว่าเคยหรือเป็นบุคคลประพฤติเสื่อมเสีย จะเอาหลักนี้มาเลือกปฎิบัติหรือริดรอนสิทธิเด็กในการรับราชการได้หรือไม่? คำถามคือหากมาตรานี้คุ้มครองเด็กจริง ทำไมมีหลายๆฎีกาจากศาลปกครองของนักเรียนนายสิบในการยื่นอุทร ทำไมนักเรียนนายสิบหลายคนถึงแพ้ จนนักเรียนนายสิบหลายคนที่สอบได้หรือรับราชการแล้วแต่มีคำสั่งให้ออกจากราชการครับ

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 7 місяців тому

      จริงๆเรื่องนี้ยังเป็นปัญหาอยู่ในทางปฏิบัติ เนื่องจากหน่วยงานรัฐไม่ได้มีการทำความเข้าใจและประสานงานกัน ทำให้บางคดีมีการลบประวัติเด็กเยาวชนบางคดีไม่มีได้มีการลบ ปัจจุบันมีระเบียบสตช.ให้ดำเนินการลบประวัติเด็กเยาวชนผู้กระทำความผิด และกรณีเด็กเยาวชนเข้าแผนฟื้นฟูแล้วแผนสำเร็จก็มีระเบียบศาลเยาวชนฯให้สามารถยื่นขอลบประวัติได้

  • @petcharathann8239
    @petcharathann8239 8 місяців тому

    ขอบคุณค่ะ

  • @smartagent2163
    @smartagent2163 8 місяців тому

    เมื่อสิ้นสุดคดีแล้ว ทำไมเด็กและเยาวชน ไม่สามารถรับราชการได้ครับ? ทำไมยังมีการบันทึกการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชน ใน (ทว) ครับ?

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 8 місяців тому

      การรับราชการมีระเบียบห้ามไม่ให้เป็นบุคคลที่ต้องคำพิพากษาในคดีอาญาถึงที่สุดให้ลงโทษเว้นแต่เป็นลหุโทษหรือประมาท แต่กรณีคดีเด็กเยาวชนฯ จริงๆมีระเบียบสตช.ให้ลบประวัติเมื่อคดีถึงที่สุดโดยทางสนง.ตำรวจเป็นผู้ดำเนินการ ส่วนคดีเด็กเยาวชนฯที่ยุติโดยแผนฟื้นฟูมีการยื่นคำร้องต่อศาลเพื่อขอลบประวัติและศาลเยาวชนจะเป็นผู้ดำเนินการขอลบประวัติให้ค่ะ

    • @smartagent2163
      @smartagent2163 8 місяців тому

      @@warunee_a495 ขอคอนแทคปรึกษาเพิ่มเติมได้ไหมครับ

  • @NutKorawitTH
    @NutKorawitTH 8 місяців тому

    ขอบคุณครับได้ความรู้เพิ่มมากเลยครับ

  • @สุเมธีโคนัก
    @สุเมธีโคนัก 9 місяців тому

    ศาลชั้นต้นตัดสินโทษจำคุก1ปีแต่รอลงอาญาไว้2ปปอัยการยื่นอุธรณ์ให้แ้ก้คำตัดสินของศาลชั้นต้นจะทำอย่างไรบ้างครับ

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 9 місяців тому

      ต้องดูว่าพนักงานอัยการอุธรณ์ในประเด็นไหนขอให้ศาลลงโทษตามข้อหาที่ฟ้องหรืออุทธรณ์ในประเด็นเรื่องโทษ ถ้าพนักงานอัยการอุทธรณ์ได้เดาว่าน่าจะเป็นคดีที่ฟ้องอัตราโทษอย่างสูงเกิน 3 ปี ส่วนจำเลยจะทำอย่างไรต้องพิจารณาจากอุทธรณ์ของพนักงานอัยการค่ะว่าเราจะต่อสู้หรือไม่

    • @สุเมธีโคนัก
      @สุเมธีโคนัก 9 місяців тому

      อัยการไม่เห็นด้วยกับการอลงอาญาครับ

    • @สุเมธีโคนัก
      @สุเมธีโคนัก 9 місяців тому

      ผมไม่เคยต้องโทษคดีมาก่อนเลยผมรับสารภาพตลอดทุกชั้นสอบสวนและชั้นศาลผมไม่ได้ประกันตัวยอมติดคุกก่อนศาลตัดสิน82วันครับ

    • @สุเมธีโคนัก
      @สุเมธีโคนัก 9 місяців тому

      ผมไม่เคยต่อสู้ครับรับตลอดครับ

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 9 місяців тому

      @@สุเมธีโคนัก ถ้าจำเลยไม่เห็นด้วยกับอุทธรณ์ของพนักงานอัยการ จำเลยสามารถให้ทนายความยื่นแก้อุทธรณ์โดยยกเหตุผลตามที่กล่าวมาไม่ว่าจะเป็นการสำนึกผิดยอมรับสารภาพ และยินยอมติดคุกโดยไม่ประกันเพื่อให้เห็นว่าการที่ศาลชั้นต้นพิพากษาให้รอการลงโทษนั้นชอบแล้ว

  • @pes.t.m.4530
    @pes.t.m.4530 9 місяців тому

    กรณีสืบประกอบคำให้การรับสารภาพของจำเลย ในคดีข้อหาพรากเด็ก ไม่เกิน15ปี เพื่อการอนาจาร โดยเด็กยินยอม 1.เมื่อโจทก์สืบพยานของโจทก์ จำเลยสามารถถามพยานโจทก์ลักษณะไดได้บ้าง ครับ หรือไม่จำต้องถามอะไรไปเลย หรือต้องทำอย่างไรได้บ้างเพื่อเกิดประโยชน์กับจำเลยมากที่สุด😊 2.ถ้ามีเฉพาะฝ่ายโจทก์สืบฝ่ายเดียว จำเลยไม่คัดค้านในวันสืบประกอบคำรับสารภาพ เมื่อมีคำพิพากษา จำเลยยังสามารถขออุทธรณ์ต่อศาลเพื่อลดโทษได้หรือไม่ อย่างไรครับ

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 9 місяців тому

      1.เมื่อมีการรับสารภาพในการกระทำความผิด ทางกฎหมายถือว่าเป็นการลุแก่โทษศาลสามารถพิพากษาลดโทษให้จำเลยได้เพราะเป็นเหตุลดโทษ ม.78 ประมวลกฎหมายอาญา ถ้าจำเลยได้กระทำผิดจริงและแสดงถึงความสำนึกผิดและแสดงเจตจำนงว่าจะชดให้ความผิดให้ผู้เสียหายอย่างไรบ้างก็จะเป็นผลให้ศาลใช้ข้อเท็จจริงนี้ประกอบดุลพินิจในการลดโทษ 2. การอุทธรณ์ในประเด็นอื่นที่ไม่ใช่เป็นการปฏิเสธ เช่น ขอให้ศาลลดโทษ หรือพยานหลักฐานยังฟังได้ไม่เพียงพอว่าจำเลยกระทำผิด สามารถอุทธรณ์ในประเด็นเช่นนี้ได้ค่ะ

  • @gjhfuv5355
    @gjhfuv5355 10 місяців тому

    เราทำมาตตรา44/1เองไม่ถูกต้อง เราต้องจ้างผู้รู้หรือทนายทำได้ไหม

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 10 місяців тому

      ปกติในส่วนของคดีแพ่งเวลาเขียนคำฟ้องหรือคำร้องตามป.วิ.อ.มาตรา 41/1ต้องจ้างทนายความเป็นผู้ทำให้ แต่หากผู้เสียหายไม่มีทุนทรัพย์ในการจ้างทนาย ม.44/2 วรรคสอง สามารถร้องขอต่อศาลให้ศาลตั้งให้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายก็ได้ค่ะ

  • @SuhsSus-v7o
    @SuhsSus-v7o 11 місяців тому

    มูลเหตุที่เกิด จ ระยอง พรากผู้เยาว์ จำเลยโดนจับในท้องที่ ระยอง ตร.กองปราบมาจับไป กทม. สอบสวนที่กทม. โจทย์ฟ้องที่ อาญารัชดา แบบนี้ถูกต้องใหมครับ

    • @warunee_a495
      @warunee_a495 11 місяців тому

      คดีอาญาบางคดีหากอยู่ในอำนาจสอบสวนของกองปราบก็อยู่ในเขตอำนาจศาลอาญากรุงเทพฯได้ค่ะ (จะมีคดีอาญาบางประเภทที่มีคำสั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้อยู่ในอำนาจสอบสวนของกองปราบฯได้)

    • @SuhsSus-v7o
      @SuhsSus-v7o 11 місяців тому

      @@warunee_a495 จำเลยเสียสิทธิ์ในการต่อสู้คดีครับ ผู้เสียหายไม่สะดวกเดินทางเข้า กทม.เพื่อเข้ากระบวนการไกล่เกลี่ย ในทางปฏิบัติ ตำรวจกองปราบต้องส่งให้ตำรวจท้องที่ ทำการสอบสวนใหมครับ มีกีฏา คดีแนวๆนี้บ้างใหมครับ

    • @ประสานแพงศรี
      @ประสานแพงศรี 7 місяців тому

      ขอบคุณครับ การที่ศาลจ.ระยองมีอำนาจท้องที่มีอำนาจชำระคดี และศาลอาญากทม.ก็มีอำนาจชำระคดีเช่นกัน คำถามคือ ศาลไหนมีอำนาจชำระคดี อันดับที่ครับขอบคุณคับ