- 1 235
- 703 223
ดร.สิทธิชัย แสงอาทิตย์ (Sittichai Seangatith)
Thailand
Приєднався 1 лип 2015
UA-cam channel นี้ถูกจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นช่องทางในการเผยแพร่สื่อการสอน Video Clips ของรายวิชาที่สอนโดย รศ.ดร.สิทธิชัย แสงอาทิตย์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ได้แก่
(1) สถิตยศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Statics)
(2) กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials)
(3) ทดสอบวัสดุ (Material Testing)
(4) ทฤษฎีโครงสร้าง (Theory of Structures)
(5) การวิเคราะห์โครงสร้าง (Structural Analysis)
(6) Advanced Mechanics of Materials (กลศาสตร์วัสดุขั้นสูง)
และ
(7) อื่น ๆ และความรู้ทั่วไปที่เกี่ยวข้อง
โดยเผยแพร่เอกสารเหล่านี้ฟรี (For Free) และไม่แสวงหารายได้ (Not For Income)
โดยเอกสารบางส่วนนำมาจากหนังสือ Textbook ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนรายวิชาหลายเล่ม
เช่น หนังสือ Textbook ของ R.C. Hibbeller ในรายวิชา (1) (2) (4) และ (5)
หากผู้ชม Video Clips แล้วเห็นว่ามีประโยชน์ทั้งในเชิงวิชาการและวิชาชีพ
โปรดสนับสนุนซื้อหนังสือ Textbook ที่ใช้ในการเตรียมสื่อการสอนเหล่านี้ เพื่อเป็นตามหลัก แฟร์ยูส ครับ
(1) สถิตยศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Statics)
(2) กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials)
(3) ทดสอบวัสดุ (Material Testing)
(4) ทฤษฎีโครงสร้าง (Theory of Structures)
(5) การวิเคราะห์โครงสร้าง (Structural Analysis)
(6) Advanced Mechanics of Materials (กลศาสตร์วัสดุขั้นสูง)
และ
(7) อื่น ๆ และความรู้ทั่วไปที่เกี่ยวข้อง
โดยเผยแพร่เอกสารเหล่านี้ฟรี (For Free) และไม่แสวงหารายได้ (Not For Income)
โดยเอกสารบางส่วนนำมาจากหนังสือ Textbook ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนรายวิชาหลายเล่ม
เช่น หนังสือ Textbook ของ R.C. Hibbeller ในรายวิชา (1) (2) (4) และ (5)
หากผู้ชม Video Clips แล้วเห็นว่ามีประโยชน์ทั้งในเชิงวิชาการและวิชาชีพ
โปรดสนับสนุนซื้อหนังสือ Textbook ที่ใช้ในการเตรียมสื่อการสอนเหล่านี้ เพื่อเป็นตามหลัก แฟร์ยูส ครับ
12 ทบทวนสอบกลางภาค บทที่ 1 ถึง บทที่ 5 วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 3 ธค 6
การบรรยาย ครั้งที่ 12
กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials)
เทอม 2 ปีการศึกษา 2567
วัน อ ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2567
เนื้อหา Video clip นี้ได้แก่
การทบทวนเนื้อหา บทที่ 1 ถึงบทที่ 5 และการสาธิตทำโจทย์ตัวอย่างข้อสอบ 4 ข้อ
โดย download ตัวอย่างได้ที่ drive.google.com/file/d/1hoY2MvkMG41MwfUfMEfkmZl1swoYxcAp/view?usp=sharing
นศ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จาก video clips ที่เกี่ยวข้องที่ Playlists ดังต่อไปนี้
1. กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials)
ua-cam.com/play/PLF0BhuTaQMvT5NpU_YgvT3IkSb8AKmIpF.html
2. การบรรยาย กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials) เทอม 2 ปีการศึกษา 2563
ua-cam.com/play/PLF0BhuTaQMvQZYvump-OYRU1l1Lf889Dh.html
3. การบรรยาย กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials) เทอม 2 ปีการศึกษา 2564
ua-cam.com/play/PLF0BhuTaQMvQLlRu6zhx3Kr3d4hc_3hPQ.html
4. การบรรยาย กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials) เทอม 2 ปีการศึกษา 2565
ua-cam.com/play/PLF0BhuTaQMvRBzYYeCW7V9ny_7kt5cig5.html&si=zKPnnKGutl89s1fP
5. ua-cam.com/video/YaIDVPA1ZS8/v-deo.html ... เทอม 2 ปีการศึกษา 2564
6. ua-cam.com/video/SfS9DOOPOhU/v-deo.html ... เทอม 2 ปีการศึกษา 2565
7. ua-cam.com/video/QdGHK8-9Qdk/v-deo.html ... เทอม 2 ปีการศึกษา 2566
Download หนังสือประกอบการเรียนรายวิชา กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials) ได้ที่
drive.google.com/file/d/10BoGpSKcsWNSt-U65-CTTc1iculGkmlc/view?usp=sharing
กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials)
เทอม 2 ปีการศึกษา 2567
วัน อ ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2567
เนื้อหา Video clip นี้ได้แก่
การทบทวนเนื้อหา บทที่ 1 ถึงบทที่ 5 และการสาธิตทำโจทย์ตัวอย่างข้อสอบ 4 ข้อ
โดย download ตัวอย่างได้ที่ drive.google.com/file/d/1hoY2MvkMG41MwfUfMEfkmZl1swoYxcAp/view?usp=sharing
นศ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จาก video clips ที่เกี่ยวข้องที่ Playlists ดังต่อไปนี้
1. กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials)
ua-cam.com/play/PLF0BhuTaQMvT5NpU_YgvT3IkSb8AKmIpF.html
2. การบรรยาย กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials) เทอม 2 ปีการศึกษา 2563
ua-cam.com/play/PLF0BhuTaQMvQZYvump-OYRU1l1Lf889Dh.html
3. การบรรยาย กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials) เทอม 2 ปีการศึกษา 2564
ua-cam.com/play/PLF0BhuTaQMvQLlRu6zhx3Kr3d4hc_3hPQ.html
4. การบรรยาย กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials) เทอม 2 ปีการศึกษา 2565
ua-cam.com/play/PLF0BhuTaQMvRBzYYeCW7V9ny_7kt5cig5.html&si=zKPnnKGutl89s1fP
5. ua-cam.com/video/YaIDVPA1ZS8/v-deo.html ... เทอม 2 ปีการศึกษา 2564
6. ua-cam.com/video/SfS9DOOPOhU/v-deo.html ... เทอม 2 ปีการศึกษา 2565
7. ua-cam.com/video/QdGHK8-9Qdk/v-deo.html ... เทอม 2 ปีการศึกษา 2566
Download หนังสือประกอบการเรียนรายวิชา กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials) ได้ที่
drive.google.com/file/d/10BoGpSKcsWNSt-U65-CTTc1iculGkmlc/view?usp=sharing
Переглядів: 749
Відео
12 Review for Midterm Examination Mech of Materials Inter Prog 2 2024 Dec 3 2024
Переглядів 77День тому
Lecture 12 Mechanics of Materials Trimester 2/2024 ๋December 3, 2024 Contents: Review for the midterm examination 2/2024 for 4 problems, including Chapter 1 to 5. The examples of the midterm examination problems: drive.google.com/file/d/1hoY2MvkMG41MwfUfMEfkmZl1swoYxcAp/view?usp=sharing More video clips for self-study: (1) ua-cam.com/video/5HPJyVOmrdk/v-deo.html ... Lecture on Trimester 2/2021 ...
12 Review for Midterm Examination Engineering Static Term 2 2024 Dec 2 2024
Переглядів 84День тому
Lecture 12 Trimester 2/2024 December 2, 2024 This video clip covers Examples for the Midterm Examination (1) Equilibrium of Particle in 2D: Analysis of a cable system under the weight W. (2) Equilibrium of Particle in 3D: Analysis of a cable system under the weight W. (3) Equilibrium of Rigid Body in 2D: Analysis of a rigid bracket, supported by a hinge and a cable under the weight W. (4) Equil...
11 บทที่ 5 แรงบิด ส่วนที่ 2 วิเคราะห์และออกแบบเพลา วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 2 ธค 67
Переглядів 406День тому
การบรรยาย ครั้งที่ 11 กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials) เทอม 2 ปีการศึกษา 2567 วัน จ ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2567 เนื้อหา Video clip นี้ได้แก่ (A) บทที่ 5 การบิด 5.1 การเปลี่ยนแปลงรูปร่างเนื่องจากการบิดเพลากลม 5.2 สมการการบิด 5.3 มุมบิด 5.4 เพลาส่งกำลัง สาธิตการทำตัวอย่างข้อสอบกลางภาคทั้งแบบการวิเคราะห์และการออกแบบ 3 ข้อ (B) เพลาแบบ statically indeterminate … มอบหมายให้นักศีกษาศึกษาเพิ่มเติม Do...
บนมอร์เตอร์เวย์ M6 ช่วงทางยกระดับลำตะคลอง อุโมงค์คลองไผ่ ขาวิ่งเข้าโคราช 30 พ.ย. 2567
Переглядів 49День тому
อุโมงค์คลองไผ่ บนมอร์เตอร์เวย์ M6 ช่วงทางยกระดับลำตะคลองนี้ ถูกสร้างขึ้น เพื่อ security ของสถานกักกันที่อยู่ด้านข้างมอร์เตอร์เวย์ M6 ออกแบบเป็นโครงเหล็กกัลวาไนท์ ที่ทรทานต่อสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะลมและฝนที่ข้างข้างแรงมาก ๆ โดยจัดรูปแบบที่สวยงาม โดยเฉพาะเมื่อกระทบกับแสงพระอาทิตย์ยามตะวันตกดินในช่วงหน้าแล้งปลาย พ.ย. ถึงต้น ม.ค. จะสวยงามดัง video clip ครับ
บนมอร์เตอร์เวย์ M6 ช่วงทางยกระดับลำตะคลอง ขาวิ่งเข้าโคราช 30 พ.ย. 2567
Переглядів 35День тому
30 พ.ย. 2567 อากาศที่โคราชช่วงเช้าอยู่ราว 17-21C และสิ้นหน้าฝน เข้าสู่หน้าแล้งของที่ราบสูงโคราชและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ดังนั้น ช่วงนี้จะสังเกตเห็นใบไม้เริ่มเปลี่ยนสีบนภูเขาต่าง ๆ ทำให้สวยงานไปอีกแบบ ประกอบกับช่วงนี้ แสงอาทิตย์ยามเย็นก่อนพระอาทิตย์ตกดินจะออกโทนส้ม-แดงสวยงามเมื่อกระทบกับสิ่งแวดล้อมโดบรอบ โดยเมื่อวิ่งเข้าโคราช พระอาทิตย์จะอยู่ด้านหลังร จึงเห็นแสงฯ สวยครับ
11 Ch 5 Torsion Part 2 Mech of Materials Inter Prog 2 2024 Nov 28 2024
Переглядів 4214 днів тому
Lecture 11 Mechanics of Materials Trimester 2/2024 November 28, 2024 Contents: Chapter 5 Torsion 5.1 Torsional Deformation of a Circular Shaft 5.2 Torsion Formula 5.3 Angle of Twist 5.4 Power Shaft More video clips for self-study : (1) ua-cam.com/video/U9RoH0pEF1Q/v-deo.htmlsi=xe-Ctq0hbeTnErf6&t=985 and ua-cam.com/video/BNds8Bb8brY/v-deo.html ... Lecture on Trimester 2/2021 (2) ua-cam.com/video...
10A บทที่ 5 การบิด ส่วนที่ 1 เพิ่มเติม วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 28 พย 67
Переглядів 17414 днів тому
เอกสารเพิ่มเติม ประกอบ การบรรยาย ครั้งที่ 10 กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials) เทอม 2 ปีการศึกษา 2567 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเพิ่มเติม วัน พฤ ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 เนื้อหา Video clip นี้ได้แก่ บทที่ 5 การบิด 5.2 สมการการบิด 5.3 มุมบิด ตัวอย่างตาม PPT
10 Ch 4 END Ch 5 Torsion Part 1 Mech of Materials Inter Prog 2 2024 Nov 28 2024
Переглядів 3614 днів тому
Lecture 10 Mechanics of Materials Trimester 2/2024 November 28, 2024 Contents: (A) Chapter 4 Axial Load 4.4 Analyze of Statically Indeterminate Axial Load Members by Using Displacement Method ... 2 Examples (B) Chapter 5 Torsion 5.1 Torsional Deformation of a Circular Shaft 5.2 Torsion Formula 5.3 Angle of Twist More video clips for self-study: (1) ua-cam.com/video/9E0c7W4Gg4M/v-deo.html (Lectu...
11 Equilibrium of Rigid Body in 2D and 3D Engineering Static Term 2 2024 Nov 27 2024
Переглядів 2614 днів тому
Lecture 11 Trimester 2/2024 Nov 27, 2024 (14.50-16.30) This video clip covers Chapter 5 Equilibrium of Rigid Body … Examples in 2D and 3D. Lecture note: Lecture Note 10: drive.google.com/file/d/1hczcLkN7QzDEzbjaNIQCDzKY4t-XgBqt/view?usp=sharing Lecture Note 11: drive.google.com/file/d/1heGrZeEciWrgsIZekmGbjYLXDuzO_2fH/view?usp=sharing Extra-example: drive.google.com/file/d/1h_yRAmZ6DFD85VYGyKPL...
10 Review Moment Equilibrium of Particle in 2D and 3D Engineering Static Term 2 2024 Nov 27 2024
Переглядів 2914 днів тому
Lecture 10 Trimester 2/2024 Nov 27, 2024 (13.00-14.40) This video clip covers (1) Chapter 4 Force System Resultants …. Review of the Moment of a force in 3D. (2) Examples of the Equilibrium of Particle in 2D and 3D. Lecture note: Lecture Note 8: drive.google.com/file/d/1SnrBR6GDDH-6RMHEz0Q8Vf47ng-ATzkq/view?usp=sharing Lecture Note 9: drive.google.com/file/d/1gkocF58WqLSwllT4SNxCS1AjVXAC5Pud/vi...
10 บทที่ 4 จบบท บทที่ 5 การบิด ส่วนที่ 1 วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 27 พย 67
Переглядів 37714 днів тому
การบรรยาย ครั้งที่ 10 กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials) เทอม 2 ปีการศึกษา 2567 วัน พ ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 เนื้อหา Video clip นี้ได้แก่ บทที่ 4 แรงในแนวแกน 4.4 การวิเคราะห์ชิ้นส่วนของโครงสร้างที่รับแรงในแนวแกนแบบ Statically Indeterminate โดยวิธี Displacement Method ... สาธิตการทำตัวอย่างข้อสอบกลางภาค 2 ข้อ บทที่ 5 การบิด 5.2 สมการการบิด 5.3 มุมบิด ตัวอย่างแบบการวิเคราะห์ analysis 1.a ...
09 Ch 4 Axial Load Statically INdeterminate Mech of Materials Inter Prog 2 2024 Nov 26 2024
Переглядів 3114 днів тому
Lecture 9 Mechanics of Materials Trimester 2/2024 November 26, 2024 Contents: Chapter 4 Axial Load 4.4 Analyze of Statically Indeterminate Axial Load Members by Using Displacement Method (with many extra examples) More video clips for self-study: (1) ua-cam.com/video/9E0c7W4Gg4M/v-deo.html .... Lecture on Trimester 2/2021 (2) ua-cam.com/video/KvdPkpD22zg/v-deo.html .... Lecture on Trimester 2/2...
9 Examples for the incoming Midterm Examination Engineering Static Term 2 2024 Nov 25 2024
Переглядів 4414 днів тому
Lecture 9 Trimester 2/2024 Nov 25, 2024 This video clip covers Examples for the Midterm Examination (1) Equilibrium of Particle in 2D: Analysis of a cable system and rigid link under the weight W. (2) Equilibrium of Particle in 3D: Analysis of a steel rod system under the weight W = 30 kN. (3) Equilibrium of Rigid Body in 2D: Analysis of a rigid bracket, supported by a hinge and a cable. (4) Eq...
09 บทที่ 4 แรงในแนวแกน ส่วนที่ 2 statically Indeterminate วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 25 พย 67
Переглядів 29714 днів тому
การบรรยาย ครั้งที่ 9 กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials) เทอม 2 ปีการศึกษา 2567 วัน จ ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 เนื้อหา Video clip นี้ได้แก่ บทที่ 4 แรงในแนวแกน 4.4 การวิเคราะห์ชิ้นส่วนของโครงสร้างที่รับแรงในแนวแกนแบบ Statically Indeterminate โดยวิธี Displacement Method (นำเสนอตาม PPT และเพิ่มตัวอย่างให้ นศ ศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง 2 ตัวอย่าง) Download เอกสารประกอบการบรรยาย ครั้งที่ 9 ได้ที่...
08 Ch 4 Axial Load Statically Determinate Mech of Materials Inter Prog 2 2024 พย 21 2024
Переглядів 5321 день тому
08 Ch 4 Axial Load Statically Determinate Mech of Materials Inter Prog 2 2024 พย 21 2024
08 บทที่ 4 แรงในแนวแกน ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์เสา วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 15 พย 6
Переглядів 77328 днів тому
08 บทที่ 4 แรงในแนวแกน ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์เสา วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 15 พย 6
8 Chapter 4 Force System Resultants Moment Engineering Static Term 2 2024 Nov 13 2024
Переглядів 37Місяць тому
8 Chapter 4 Force System Resultants Moment Engineering Static Term 2 2024 Nov 13 2024
07 บทที่ 3 สมบัติทางกลของวัสดุ ส่วนที่ 3 จบ วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 13 พย 67
Переглядів 592Місяць тому
07 บทที่ 3 สมบัติทางกลของวัสดุ ส่วนที่ 3 จบ วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 13 พย 67
7 Chapter 3 Equilibrium of Particle in 3D Engineering Static Term 2 2024 Nov 12 2024
Переглядів 26Місяць тому
7 Chapter 3 Equilibrium of Particle in 3D Engineering Static Term 2 2024 Nov 12 2024
07 Ch 3 Mechanical Properties of Materials END Mech of Materials Inter Prog 2 2024 Nov 12 2024
Переглядів 87Місяць тому
07 Ch 3 Mechanical Properties of Materials END Mech of Materials Inter Prog 2 2024 Nov 12 2024
6 Ch 3 Equilibrium of a Particle in 2D and 3D Engineering Static Term 2 2024 Nov 11 2024
Переглядів 76Місяць тому
6 Ch 3 Equilibrium of a Particle in 2D and 3D Engineering Static Term 2 2024 Nov 11 2024
06 บทที่ 3 สมบัติทางกลของวัสดุ ส่วนที่ 2 วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 11 พย 67
Переглядів 504Місяць тому
06 บทที่ 3 สมบัติทางกลของวัสดุ ส่วนที่ 2 วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 11 พย 67
06 Ch 3 Mechanical Properties of Materials Part 2 Mech of Materials Inter Prog 2 2024 Nov 8 2024
Переглядів 91Місяць тому
06 Ch 3 Mechanical Properties of Materials Part 2 Mech of Materials Inter Prog 2 2024 Nov 8 2024
05 Ch 3 Mechanical Properties of Materials Part 1 Mech of Materials Inter Prog 2 2024 Nov0 2024
Переглядів 79Місяць тому
05 Ch 3 Mechanical Properties of Materials Part 1 Mech of Materials Inter Prog 2 2024 Nov0 2024
5 Ch 2 Force Vector 3D and Ch 3 Engineering Static Term 2 2024 Nov 6 2024
Переглядів 54Місяць тому
5 Ch 2 Force Vector 3D and Ch 3 Engineering Static Term 2 2024 Nov 6 2024
05 บทที่ 3 สมบัติทางกลของวัสดุ ส่วนที่ 1 วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 06 พย 67
Переглядів 561Місяць тому
05 บทที่ 3 สมบัติทางกลของวัสดุ ส่วนที่ 1 วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 06 พย 67
04 Ch 1 Stress Part 4 4 and Ch 2 Strain Mech of Materials Inter Prog Term 2 2024 Nov 05 2024
Переглядів 136Місяць тому
04 Ch 1 Stress Part 4 4 and Ch 2 Strain Mech of Materials Inter Prog Term 2 2024 Nov 05 2024
4 Ch 2 Force Vector 2D and 3D Engineering Static Term 2 2024 Nov 4 2024
Переглядів 62Місяць тому
4 Ch 2 Force Vector 2D and 3D Engineering Static Term 2 2024 Nov 4 2024
04 บทที่ 1 Stress จบ และ บทที่ 2 Strain วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 04 พย 67
Переглядів 549Місяць тому
04 บทที่ 1 Stress จบ และ บทที่ 2 Strain วิชากลศาสตร์วัสดุ เทอม 2 2567 04 พย 67
❤
อาจารย์สอนละเอียดมากเลยครับ ที่มอผมสอนไม่ค่อยละเอียดเลย
( 12:12 ) Ex. Analysis 1.a 1.) จากกราฟ steel shaft ( shear strain : gamma , shear stress : tau ) อ่านค่า tau( yield ) จากราฟได้ = 76 MPa _____________ ( 54:04 ) Ex. Analysis 1.a การคำนวณตามตัวอย่างข้อนี้ ได้ค่าหน่วยแรงเฉือน(สูงสุด) shear stress : tau(max) = 65.2 MPa ซึ่งน้อยกว่า tau( yield ) = 125 MPa ( of steel. ) ______________ ( 55:03 ) Ex. Design Hollow steel shaft โจทย์กำหนดค่า หน่วยแรงเฉือน(ที่ยอมให้) shear stress : tau( allowable) = 150 MPa _______________ คำถามครับ ? 1.) ค่าหน่วยแรงเฉือน(ที่จุคราก) ของ steel shaft ( shear stress : tau( yield ) ) ค่า " tau( yield ) " ที่เราอ่านได้จากกราฟ ของการทดสอบ ขึ้นอยู่กับประเภทของเนื้อวัสดุ steel ของตัวอย่าง ที่เราใช้ทำการทดสอบกับเครื่องทดสอบแรงบิด ใช่ หรือ ไม่ " ครับ ! " 2.) โดยปรกติ เราใช้ค่าหน่วยแรงเฉือน(ที่จุคราก) ของ steel shaft tau( yield ) of steel. ประมาณ เท่าไร ? ( ในการคำนวณในเรื่องแรงบิด " ครับ ! " ) " ขอบพระคุณครับ "
อาจารย์ครับ ใน มอก.20 ระบุให้ตัดชิ้นตัวอย่างท่อนละ 1.50 ม. แต่ถ้าหน้างานตัวแค่ 1.00ม. ยังทดสอบได้ปกติไหมครับ
มาตรฐานอุตสาหกรรมไทย (มอก) เป็นกฎหมายที่ต้องปฏิบัติตาม โดยต้องตัดเหล็กด้วยวิธีทางกลตามความยาวที่กำหนด ในทางปฏิบัติแล้ว เครื่อง UTM สมัยใหม่สามารถทำสอบแท่งตัวอย่างยาวในระดับ 30 cm หากทางบริษัทก่อสร้างฯ ไม่เคร่งครัด มักจะยอมรับกันได้ เป็นกรณี ๆ ไป ด้วยที่เหล็กเสริม ผลิตจากโรงงานที่มีคุณภาพ มอก แล้ว และเป็นวัสดุที่มีความเป็น isotropic และ homogeneous material โดยที่ผลทดสอบ 3 ตัวอย่างทดสอบ ต้องมีค่าที่ทดสอบได้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดตามเกรดเหล็กทั้ง 3 ตัวอย่างทดสอบ (เช่น Yielding stress Ultimate stress % elongation และค่า E) ครับ แต่หากเป็นงานราชการที่เคร่งครัดแล้ว ควรต้องตัดตามกำหนด
ส่วนตัว อจ นั้น ไม่รับ 1.0 m นะครับ ... ต้องกลับไปตัดมา 1.5 m ถึงจะรับทดสอบฯ
ขอไอดีไลน์ได้ใหมครับอาจารย์
❤
❤
❤
Thank you, sir, for video
❤
อาจารย์ ผมทำงานเขียนแบบ แต่ความรู้ด้านนี้ยังมีน้อย ผมรอติดตามทุกบทสอน ที่ท่านอาจารย์จะนำมาสอนทุกบทนะครับ
@@Jinda_Design ด้วยความยินดีครับ ฝากบอกเพื่อน ๆ ด้วยครับ
@sittichaiseangatith4123 ด้วยความเคารพครับ
สอนดีมากครับอาจารย์ จาก นศ sec1
ขอขอบใจครับ
1. คาน วิธีกราฟ conjugate beam 2. โครงข้อแข็ง (วิธี virtual work หรือ วิธี strain energy) 3. โครงข้อหมุน (วิธี castiglino) 4. โครงสร้าง Indeterminate NI = 2 อาจารย์รับติวมั้ยครับ
อจ เป็น อจ มหาวิทยาลัยและเป็นวิศวกรโยธา อจ ไม่รับติว แต่ นศ มาลงทะเบียนนี้แบบร่วมเรียนที่ มทส เมื่อมีการเปิดรายวิชานี้ในเทอม 3 ตามระบบคลังหน่วยกิตได้ครับ
ในโลกปัจจุบัน นศ ควนฝึกฝนการเรียนรู้ด้วยตนเองนะ เพราะมี video clips มากมายจาก อจ ไทยเ ผยแพร่ใน UA-cam .... เป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในส่วนของ อจ เองก็มี น่าจะ 4 ชุดการบรรยาย เอกสารก็มีให้ download จาก link ใต้ video clips ครับ
อจ ขอฝาก นศ ช่วย เผยแพร่ บอกเพื่อน ๆ มาศึกษาด้วยตนเองกัน หรือจะ ทีมอัพ ช่วยกันศึกษาก็ดี ครับ
( 7:30 ) คานช่วงเดียว ABC (ปลายยื่น) ( Overhanging beam ) ถูกแรงภายนอกกระทำ และ เราหาแรงปฏิกิริยา ( ได้ตามรูปตัวอย่าง ) คำถาม ? " ครับ " ถ้าเราสามารถ " เขียนสมการของคาน ที่ถูกแรงกระทำจากภายนอก w = 50 kN/m " ( กระทำในช่วงของคาน จาก A ถึง B ) ได้ว่า ! w(x1) = - 50 kN ( เป็นค่าคงที่ตลอดช่วงคาน จาก A ถึง B ) 1.) และ ถ้าเราต้องการ Integral สมการ w(x1) = - 50 kN ** เพื่อให้ได้ สมการแรงเฉือน : V(x1) ** 1.1) Integral w(x1) = V(x1) Integral ( - 50 ) = - 50(x1) + C1 เราจะได้สมการแรงเฉือน ! V(x1) = - 50(x1) + C1 ( ให้เป็นสมการที่ 1 ) 2.) และ ถ้าเราต้องการ Integral สมการแรงเฉือน : V(x1) ** เพื่อให้ได้ สมการ Moment : M(x1) ** 2.1) Integral V(x1) = M(x1) Integral - 50(x1) + C1 = - 25(x1)^2 + C1(x1) + C2 เราจะได้สมการ Moment : M(x1) M(x1) = - 25(x1)^2 + C1(x1) + C2 ( ให้เป็นสมการที่ 2 ) 3.) เราต้องหาสมการเงื่อนไขความสอดคล้อง ( compatibility conditions equation ) เพื่อหาค่า C1 และ C2 3.1) จากสมการแรงเฉือน V(x1) = - 50(x1) + C1 ( สมการที่ 1 ) ( จากเงือนไข ที่จุด A, ที่ระยะ x = 0 ) จุด A จะมีค่าแรงเฉือน V = + 40 kN แทนค่าที่ระยะ x = 0 m. และ V = + 40 kN ( ลงในสมการที่ 1 ) V(x1) = - 50(x1) + C1 40 kN = - 50•(0 m.) + C1 จะได้ค่า C1 = 40 kN แทนค่า C1 = 40 kN ( กลับลงใน สมการที่ 1 ) V(x1) = - 50(x1) + C1 ** เราจะได้สมการแรงเฉือน ** V(x1) = 40 - 50(x1) 3.2) M(x1) = - 25(x1)^2 + C1(x1) + C2 ( สมการที่ 2 ) ( จากเงือนไข ที่จุด A, ที่ระยะ x = 0 ) จุด A จะมีค่า Moment = 0 แทนค่าที่ระยะ x = 0 m. และ M = 0 ( ลงในสมการที่ 2 ) M(x1) = - 25(x1)^2 + C1(x1) + C2 0 = - 25•(0 m.)^2 + C1•(0 m.) + C2 จะได้ค่า C2 = 0 แทนค่า C1 = 40 kN และ C2 = 0 ( กลับลงในสมการที่ 2 ) M(x1) = - 25(x1)^2 + C1(x1) + C2 ** จะได้สมการ Moment ** M(x1) = 40(x1) - 25(x1)^2 ซึ่งสมการ V(x1) = 40 - 50(x1) M(x1) = 40(x1) - 25(x1)^2 ( เป็นไปตามตัวอย่างการบรรยาย ) ไม่ทราบว่า ! การใช้ ( compatibility conditions equation ) เพื่อเขียนสมการ ตามที่ได้แสดง เป็นความเข้าใจที่ ถูกต้อง หรือ ไม่ " ครับ ! " " ขอบคุณ ครับ "
การทำแบบที่ว่านี้ มันเป็นการ inverse วิธี graphic กลับไปเป็นวิธี method of section นะครับ … ทำได้ แต่ต้องยุ่งกับคณิตศาสตร์ ส่วนตัวเรา หากอยากได้สมการ V(x) และ M(x) แล้ว method of section น่าจะเหมาะกับวิศวกรมากกว่าครับ
@@sittichaiseangatith4123 กราบขอบพระคุณท่านอาจารย์ " ครับ "
( 38:00 ) Example 1 1.) คาน(AB)ช่วงเดียว ( Simply supported beam ) ( ตามรูปตัวอย่าง ) ถูกกระทำด้วยแรงจากภายนอก ( เป็นแรงแผ่กระจาย รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ) คำถาม ? " ครับ ! " 1.) " คาน " ตามตัวอย่างนี้ ** หากไม่มีแรง point load จากภายนอก มากระทำเพิ่มเติ่ม( ในระหว่างช่วงความยาวของคาน ) ** เราจะตัดคาน ** เพียงช่วงเดียว ** ( จากจุดA ไปยัง จุดB , เป็นระยะ x ใดๆ ) เพื่อเขียน..! 1.1) สมการแรงเฉือน V(x) ( ในรูปฟังก์ชั่นตามระยะ x : ที่ ( A <= x <= B ) ) 1.2) สมการโมเมนต์ M(x) ( ในรูปฟังก์ชั่นตามระยะ x : ที่ ( A <= x <= B ) ) ** เช่นเดียวกันกับ คาน(AB)ช่วงเดียว ( Simply supported beam ) , ที่ถูกกระทำด้วยแรงจากภายนอก ที่เป็นแรงแผ่กระจายสม่ำเสมอ( รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า Uniformly distributed load ) , ที่ ไม่มีแรง point load จากภายนอก มากระทำเพิ่มเติ่ม( ในระหว่างช่วงความยาวของคาน ) ** ความเข้าใจดังกล่าว ถูกต้อง หรือ ไม่ " ครับ ! " ขอบคุณครับ
@@thatrip4737 คานนี้ ตัดแค่ 1 ครั้ง เพราะแรงกระทำ ๆ ต่อเนื่องตลอดคาน ด้วย w = 10+x kN/m ครับ สำหรับ ตย ที่ 2 จะตัด 2 ช่วง จะอธิบายใน lecture ครั้งต่อไปครับ
@@sittichaiseangatith4123 กราบขอบพระคุณท่านอาจารย์ ครับผม
ตามการบรรยาย ในบทที่ 6 ครั้งที่ 14-15/2567 เรื่องการวิเคราะห์โครงสร้าง Truss & Frame เพื่อหาแรงภายในของชิ้นส่วน และ แรงปฏิกิริยา ( เป็นหลัก ) และ โจทย์ตามตัวอย่างของการบรรยายนี้ ก็ได้กำหนดอย่างชัดเจนแล้วว่า ! 1.)โครงสร้าง Truss & Frame ที่เราจะทำการวิเคราะห์ เป็นโครงสร้างแบบ 1.1) มีเสถียรภาพ( Stable ) 1.2) Unknown = Equation ( Staticlly determinate ) 2.) และการศึกษาในเรื่อง เสถียรภาพของโครงสร้าง Truss & Frame เราได้เรียนรู้จากการฟังการบรรยามาแล้ว ก่อนหน้านี้ ในวิชาทฤษฎีโครงสร้าง( Theory of Structures ) แต่เมื่อเราจะเริ่ม ทำการวิเคราะห์ Truss or Frame กระผมจึงขอความกรุณา ท่านอาจารย์ ได้กรุณาท้าวความ..! ( เพื่อความต่อเนื่อง ) ถึงขันตอนในการตรวจสอบ เสถียรภาพ และ หา Degree Of Indeterminacy : DOI ของโครงสร้าง Truss & Frame ( ตามรูปตัวอย่างของโจทย์ที่ให้มา ) ว่า ! โครงสร้างนั้น มีเสถียรภาพ( Stable ) และเป็นแบบ Staticlly determinate ( ตามที่โจทย์กำหนดมา หรือ ไม่ ) ก่อนทำการวิเคาระห์หาแรงภายใน และ แรงปฏิกิริยา ต่อไปฯ " ขอบคุณ ครับ "
@@thatrip4737 หลักการตรวจสอบ degree of indeterminacy เราตรวจสอบโดยการเทียบจำนวน unknown reactions+unknown member forces กับจำนวนสมการที่เรามีในโครง truss หรือโครงเฟรมครับ กรณี truss นั้นใช้ r+b เทียบกับ 2j เมื่อ r = unknown reactions, b= unknown member forces และ j = จำนวน joints โดย method of joint นั้น 1 joint มี 2 สมการความสมดุล หาก = กัน โครง truss เป็น staticall determinate truss หาก > แล้ว เป็น statically indeterminate โดยมี DOI = b+r-2j หาก < แล้ว truss ขาดเสถียรภาพ ในกรณีนี้ แบ่งออกเป็นแบบขาดเสถียรภาพภายนอก และภายใน หรือทั้งสองแบบ อ่านเพิ่มเติมในหนังสือ Theory of Structure โดย download หนังสือได้ที่ใต้ video clip ของการบรรรยายวิชาดัวกล่าวครับ กรณีเฟรมนั้น จำนวน unknowns เป็น r+internal firces/moment (ที่จำเป็นในกรณี n>1) จำนวนสมการเป็น 3 n เมื่อ n เป็นจำนวนชิ้นส่วนที่ใช้เขียน FBD 3 มาจากจำนวน 3 สมการความสมดุล/ 1 FBD ครับ ส่วนการพิจารณาก็เช่นกัน หาก = แล้ว statically deterninate frame หาก > แล้ว staticall indeterminate frame หาก < แล้ว frame ขสดเสถียรภาพ (แบบภายใน หรือภายนอก หรือทั้งสองแบบ) DOI ก็หาใช้หลักการเดียวกับ truss ครับ
Link หนังสือ ...drive.google.com/file/d/1kkGrBgQkkoR77nCiygn4KyGyJzUKDGhR/view?usp=sharing อ่านบทที่ 2 และ 3 ครับ
@@sittichaiseangatith4123 กราบขอบพระคุณ ท่านอาจารย์ เป็นอย่างสูง ที่ท่านได้กรุณาอธิบายถึงหลักการตรวจสอบ และ กระบวนการๆตรวจสอบ( อย่างละเอียด ) ที่ใช้ในการตรวจสอบ Degree Of Indeterminacy : DOI ของโครงสร้าง Truss & Frame ว่า..! แบบใดเป็นแบบ statically determinate หรือ แบบใดเป็นแบบ statically indeterminate และ วิธีการตรวจสอบโครงสร้าง ว่า ! โครงสร้างแบบใด เป็นโครงสร้างที่ขาดเสถียรภาพ( unstable ) ( แบบภายใน หรือ แบบภายนอก ) คำอธิบายของท่านอาจารย์ ( ดังกล่าว ) หากท่านผู้ใดได้ฟังการบรรยาย ใน Clip Video( ของท่านอาจารย์ ) ในวิชาทฤษฎีโครงสร้าง( Theory of Structures ) และ วิชาการวิเคราะห์โครงสร้าง( Structural Analysis ) ( ในเรื่อง Truss & Frame ) จะต้องมีความเข้าใจ ในคำอธิบายของท่านอาจารย์ และ พอจะมองภาพรวมของคำอธิบายนั้นได้ " อย่างแน่นอน " " กราบขอบพระคุณ ครับ "
ถ้าframe มีทั้งunifrom load และ lateral load สามารถใช้วิธี approximate ได้ไหมครับ?
หากอยู่ภายใต้เงื่อนไข (1) linear elastic และ (2) very small deformation .. ใช้ principle of superposition รวมผลทั้ง 2 กรณีเข้าด้วยกันครับ
โอเคครับ ขอบพระคุณมากครับ
1:44:46 ใช้วิธีAdvantage Method ได้มั้ยคะข้อนี้ เฟรม
ขอบคุณครับอาจารย์ ผมขออนุญาติแชร์ไฟล์เอกสาร กับยูทูปของอาจารย์ไปเผยแพร่ต่อในกรุ๊ปเฟสบุ๊คนะครับ
ด้วยความยินดีครับ
@@sittichaiseangatith4123 ขอบคุณครับอาจารย์
( 53:50 ) 1.) Graph Influence line of M(A) หาได้จากสมการ M(A) = 15(x^2 / 6750)(45 - x) - x แต่เรายังไม่ทราบ ว่า..! ที่ " ระยะ x " วัดจากจุด A ไปทางขวามือ เท่ากับเท่าไร ? จึงจะได้ค่า M(A,max) " ผมเคยฟังการบรรยาย ของท่านอาจารย์ ก่อนหน้านี้ ! " ว่า..! ถ้า slope ของกราฟมีค่า = 0 ( ที่ตำแหน่ง x ใดๆ ) M(A,max) จะเกิดขึ้นที่ตำแหน่ง x นั้น ! ท่านอาจารย์ใช้วิธี dM(A) / dx = 0 1.1) จัดรูปสมการ M(A) M(A) = x^2/10 - x^3/450 - x 1.2) dM(A) / dx = x/5 - x^2/150 - 1 1.3) x^2/150 - x/5 + 1 = 0 แก้สมการได้ค่า x = 6.3397 m ( ระยะ x วัดจากจุด A ไปทางขวามือ = 6.3397 m ) 1.4) แทนค่า x = 6.3397 ในสมการ M(A) ได้ค่า M(A,max) = - 2.8868 ( Graph Influence line of M(A) ) 2.) ถ้าผมต้องการศึกษาเรื่องเส้นอิทธิพล( Influence line ) โดยหาค่า " เฉพาะค่า Moment วิกฤต " ของคาน ABC ( ตามรูปตัวอย่าง ) 2.1) โดยสมมุติให้คาน ABC เป็น " สพานที่มีรถวิ่งผ่าน 1 คัน " 2.2) ** เราจะต้องวาง loads ดังนี้ ** สพานให้มีน้ำหนัก uniform distributed loads : W = 10 kN/m ( วาง loads ตลอดช่วงความยาวคาน = 15 m ) 2.3) วางน้ำหนักรถ 1 คัน เป็น point load : P = 100 kN ( ที่ตำแหน่ง x = 6.34 m., " วัดจากจุด A ไปทางขวามือ " ) 2.4) ตามการ Models เราจะได้ค่า " Moment วิกฤต " ดังนี้ ! 2.4-1) ได้ M(A,max) = - 569.93 kN-m ( เป็น Moment Action at point (A) ) 2.4-2) และได้ M = + 314.14 kN-m ( ที่ตำแหน่ง x ~ 7.0499 m., " วัดจากจุด A ไปทางขวามือ " ) ไม่ทราบว่า ! การทำความเข้าใจเรื่องเส้นอิทธิพล( Influence line ) " ดังกล่าวมาข้างต้น " มาถูกทาง หรือไม่ " ครับ ! " ขอบคุณ ครับ
อาจารครับ 13:49 ทำไมเราถึงไม่คิดแรงในวัตถุABแม้ไม่มีน้ำหนัก แต่ก็มีแรงที่วัตถุไปค้ำรึเปล่าครับ
ในโจทย์นี้ พิจารณาสมดุลของวัตถุ (rod AB) โดยแรงใน rod AB มีค่าเท่ากับ "แรงลัพธ์ของแรงปฏิกิริยา Ax และ Ay" หรือ Square root ของ (Ax)^2+(Ay)ู^2 ครับ ... ดูที่ 36:06 เป็นต้นไป .... ซึ่งแรงใน rod AB จะหาได้อีก 1 วิธี โดยการใช้สมดุลของอนุภาค B ก็ได้ ... Rod AB มีชื่อทางเทคนิคว่า two-force member ครับ
@@sittichaiseangatith4123 ขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ
( 1:10:29 ) 3.) รูปของโครงสร้างตามตัวอย่าง ( รูปที่ 2 (สีแดง) ) ขอเรียกโครงสร้าง " ตามรูปตัวอย่างนี้ ว่า ! " เป็นโครง Frame ( รูปตัว L ) ( ที่มีฐานเป็นแบบ Fixed Support ) 3.1) และเรากำหนดให้ โครง Frame( รูปตัว L ), ฐาน Fixed Support นี้ ให้วางอยู่บนระนาบ( plane : x,y ) 3.2) " เรากำหนด " ให้นำแรง F = 50 ( ที่ตำแหน่งปลายโครง Frame ) " ** ออกไปจากปลายของโครง Frame ** คำถามที่ 3.3 ? Case : 1 3.3-1) ถ้าเรา Apply ให้ " ที่จุดปลาย " ของโครง Frame ( รูปตัว L ) นี้ ถูกขันโดยประแจเลือน( Adjustable wrench ) ( โดยที่ " ประแจ " ถูกวางยาว ** ตามแนวแกน x ** และวางอยู่บน ( plane : x,y ) ) ( ความยาว " ประแจ " d = 0.40 m ) 3.3-2) ที่ปลายของด้ามจับประแจ มีแรงจาก " มือคน " ออกแรงขันประแจ F = 30 N ( ทิศทางของแรง Vector F = 30 N, ** ชี้ขึ้นตามแนวแกน + y ** , และอยู่บน ( plane : x,y ) ) 3.3-3) ระยะทางตั้งฉาก ระหว่างจุดหมุนที่ปลายโครง Frame ( รูปตัว L ) กับแนวแรง F = 30 N , ( มีระยะทาง d = 0.4 m ) 3.3-4) ถ้าเราเขียน Free Body Diagram : FBD ของโครง Frame นี้ ** ตามหลักการๆย้ายแรง F = 30 N, จากปลายด้ามจับของประแจเลือน( Adjustable wrench ) มายังจุดหมุนที่ " จุดปลาย " ของโครง Frame( รูปตัว L ) ** เราจะได้ ว่า ! 3.3-5) จะมี ( Copple moment ( จากภายนอก ) : M(z) = 12 N-m ) ( มากระทำ ที่จุดปลายของโครง Frame ( รูปตัว L ) ) ( และทิศทางการหมุน จะหมุนทวนเข็มนาฬิกา รอบแกน z ) 3.3-6) และจะมี แรง Vector F ( เป็นแรง point load จากภายนอก ) = 30 N ( ** กระทำร่วม ** ที่จุดปลายของโครง Frame ( รูปตัว L ) ( ทิศทางของหัวลูกศรแรง " ทิศชี้ขึ้น ตามแนวแกน + y " ) ความเข้าใจดังกล่าว ! ถูกต้อง หรือ ไม่ " ครับ ! " คำถามที่ 3.4 ? Case : 2 ถ้าเรากำหนดให้ ! ที่จุดปลายของโครง Frame ( รูปตัว L ) ** ถูกขันโดย ( Steering wheel valve ) ** ( โดยมีแรงคู่ควบ ( จากภายนอก ) กระทำต่อ Steering wheel valve ) = 30 N ( ทิศทางของแรงคู่ควบ " หมุนตามเข็มนาฬิกา " ) ( ระยะห่างระหว่างแรงคู่ควบ d = 0.40 m ( เรา Apply ( แรงคู่ควบ ) ให้เป็นไปตามภาพตัวอย่างการบรรยาย ( 1:08:00 ) ) 3.4-1) เมื่อเราเขียน Free Body Diagram : FBD ของโครง Frame นี้ ! เราจะได้ ว่า ! 3.4-2) จะมีเฉพาะ ( Copple moment ( จากภายนอก ) : M(z) = 12 N-m ) ) " เท่านั้น ! " ( ที่มากระทำ ที่จุดปลายของโครง Frame ( รูปตัว L ) ) ( และ ทิศทางการหมุนของ Copple moment : M(z) จะหมุนตามเข็มนาฬิกา รอบแกน z ) ความเข้าใจดังกล่าว ! ถูกต้อง หรือ ไม่ " ครับ ! " " ขอบคุณ ครับ ! "
ขอบคุณที่สอบถามครับ
คำถามยาวมาก เรื่องนี้ง่าย ท่านน่าจะเข้าใจได้ไม่ยาก ขอไม่ตอบคำถามครับ
( 1:08:03 ) 2.) ในเรื่อง " โมเมนต์ " ที่เกิดจาก แรงคู่ควบ ( Couple Moment ) ( ตามภาพตัวอย่างของการบรรยาย ) ในกรณี : ( Steering wheel valve ) ( ที่มีจุดหมุนของ valve อยู่ตรงจุดศูนย์กลางวงกลม ) 2.1) Steering wheel valve ถูกหมุนโดย(แรงคู่ควบ) = 30 N 2.2) ระยะห่างระหว่างแรงคู่ควบ d = 0.4 m 2.3) ถ้าเราพิจารณา( ตามตัวอย่างการบรรยาย ) จะได้ ว่า ! Moment : M (จากแรงคู่ควบ) = F • d M (จากแรงคู่ควบ) = 30 N • 0.4 m M (จากแรงคู่ควบ) = 12 N-m # คำถามที่ 2 ? " ครับ ! " 2.4) ถ้าเราจะใช้ " วิธีการย้ายแรง โดยย้าย(แรงคู่ควบ) F = 30 N มายังจุด " ศูนย์กลางของ Steering wheel valve " ** เราก็จะได้เพียง ** Moment : M (ที่เกิดจากแรงคู่ควบ) = 12 N-m ( เท่านั้น ) ( ที่ทำให้ Steering wheel valve หมุนรอบแกน z ทิศตามเข็มนาฬิกา ) ( Couple Moment ** ที่ได้จะไม่ระบุตำแหน่งบน Steering wheel valve ** ) กล่าวคือ ! Moment : M (ที่เกิดจากแรงคู่ควบ) = 12 N-m ( จะอยู่บนตำแหน่งใดๆ ก็ได้บนระนาบ ของตัววัตถุแกร่ง Steering wheel valve ) แต่ไม่ว่า ! Moment : M (ที่เกิดจากแรงคู่ควบ) = 12 N-m จะอยู่บนตำแหน่งใดๆ ของ Steering wheel valve มันจะส่งผล ** แค่เพียงทำให้ ** Steering wheel valve ( หมุนรอบจุด " จุดศูนย์กลางของตัวมันเอง " ( ในทิศตามเข็มนาฬิกา ) " เท่านั้น..! " ) ส่วน (แรงคู่ควบ) F = 30 N จะถูกหักล่างกันเองหมดไป อันเนื่องมาจากกระบวนการ " การย้ายแรง " ไม่ทราบว่า ! ความเข้าใจในเรื่อง โมเมนต์ของแรงคู่ควบ ( Couple moment ) ที่กระทำกับวัตถุแกร่ง( Rigid Body ) มีความเข้าใจที่ถูกต้อง หรือ ไม่ถูกต้อง " ครับ ! "
โมเมนต์เนื่องจากแรงคู่ควบ มีค่าเท่าเดิมเสมอ ไม่ว่าจะพิจารณาโมเมนต์ดังกล่าวที่จุดใด ครับ
( 59:20 ) 1.) ท่อ( pipe ) ที่ถูกขันโดยประแจเลือน( Adjustable wrench ) 1.1) โดยมี " มือ " ออกแรงขันประแจ ด้วยแรง Vector F(x) 1.2) ระยะทางที่ตั้งฉากกับ " แนวแรง F(x) " ไปจนถึงตำแหน่งจุดหมุน(จุด O) มีระยะ = d(y) ( ตามรูปตัวอย่างการบรรยาย 4.1 ) ผลที่ได้รับ( ตามคำบรรยาย ) 1.3) เราจะได้ Moment รอบจุด(O) : M(O) M(O) = F(x) • d(y) ( ทิศหมุนทวนเข็ม ) 1.4) และ Moment : M(O) = F(x) • d(y) ( จะมีทิศทางหมุนทวนเข็ม ) ( และยังจะทำให้ ท่อ( pipe ) หมุนทวนเข็มนาฬิกา รอบแกน z ) คำถามที่ 1. ? " ครับ ! " 1.5) ถ้าผมเขียน Free Body Diagram : FBD ( " ของระบบประแจที่ขันท่อ " ตามตัวอย่าง 4.1 ( 59:20 ) ) โดยตั้งพิกัดแกน ( x,y,z ), ของระบบนี้ 1.6 ) แล้วใช้วิธี ทำการย้ายแรง F(x) มายัง จุด (O) ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ? 1.6-1) แรง Vector F(x) จะไปปรากฏที่ จุด (O), ( line of action ของแรง F(x) จะวิ่งไปตามแนวแกน - x ) " เสมือน ว่า ! " เป็นแรงเฉือน : V(x), ที่กระทำ " ขนาน " กับหน้าตัดของ ท่อ( pipe ) 1.6-2) และ " เรายังจะได้ " Moment รอบจุด (O) : M(O), ( อีกหนึ่งตัว ) M(O) = F(x) • d(y) ( ทิศทางหมุนทวนเข็มนาฬิกา รอบแกน z ) " เป็นโมเมนต์ ที่เกิดจากแรงคู่ควบ ( couple ) " ( ที่เกิดจากการหักล้างกันของแรง F(x), อันเนื่องมาจากขั้นตอนของการย้ายแรง F(x), มายังจุด (O) ) สรุป ! ( จากการย้ายแรง F(x), มายังจุด (O) ) เราจะได้ 1.6-1) ได้แรง Vector F(O,x), ( ตามแนวแกน - x ) 1.6-2) ได้ Moment : M(O), ( ทิศหมุนทวนเข็ม ) 1.6-3) แรง F(O,x) และ Moment : M(O) จะถูกถ่ายไปยัง จุดรองรับ( support ของ ท่อ( pipe ) ) ต่อไป ! ไม่ทราบว่า ? ในการออกแรงขันประแจเลือน( Adjustable wrench ) ( ตามรูปตัวอย่างการบรรยาย 4.1 ( 59:20 )) ** จะให้ผลลัพธ์ ** เทียบเท่า ! การย้ายแรง F(x), มายัง จุด ( O) ** ตามบทสรุป ! ข้างต้น ** ใช่ หรือ ไม่ " ครับ ! "
ในการออกแบบประแจเลื่อนต้องออกแบบให้ประแจฯ รับโมเมนต์สูงสุด = Fx dy และแรงเฉือนขวาง = Fx ครับ และที่จุดที่ประแจฯ จับกับท่อต้อง lock ท่อได้ 100% ด้วยครับ ..... ถึงจะเกิดโมเมนต์และแรงเฉือนที่ประแจฯ ดังกล่าว
สุดยอดครับจารย์
( 40:25 ) คำถามข้อที่ 1. ? " ครับ ! " โครง Frame ( ตามรูปตัวอย่างของการบรรยาย ) มีแรงจากภายนอกมากระทำที่จุด(D) ( ขนาด = 10 kN ( ทิศชี้ลง ) ) และแรงขนาด = 10 kN ( ทิศชี้ลง ) นี้ ! ** จะไม่มีผลต่อสมการ ** ( Slope-Deflection Equation ) รูปแบบทั่วไป ( General Equation ) M(..) = 2EI/L•( 2theta(.) + theta(.) - (3delta)/L ) + FEM(..) ที่เราใช้วิเคราะห์โครงสร้าง Frame นี้ ด้วยวิธี ( Slope-Deflection Method ) ผมเขาใจถูกต้อง หรือ ไม่ " ครับ ! " ( เพราะ..! ท่านอาจารย์ ไม่ได้กล่าวถึงแรงจากภายนอกที่มากระทำ ณ. จุด(D) ขนาด = 10 kN ( ทิศชี้ลง ) นี้เลย ! ตลอดการบรรยาย ) คำถามข้อที่ 2. ? ( 1:23:05 ) จาก Free Body Diagram ของ Shear Force Diagram เมื่อแรงเฉือน V(D) = 9.823 kN ( ทิศชี้ขึ้น ) ถูกถ่ายไปยัง node : D แรงเฉือนV(D) = 9.823 kN ( จะถูกกลับทิศ เป็นทิศชี้ลง, ตามกฎ 3rd Newton's Law ) ** และจะไปรวมกับ แรงจากภายนอกที่มากระทำ ณ. จุด(D) ขนาด = 10 kN ( ทิศชี้ลง ) ** เขียนเป็นการรวมแรงได้ ว่า..! แรงเฉือนV(D) = 9.823 kN + แรงจากภายนอก = 10 kN จะเท่ากับ แรงเฉือนV(D) = 19.823 kN ( ทิศชี้ลง ) เพื่อใช้ในการหา Reaction : Ry(D) เพราะฉนั้น Reaction : Ry(D) = 19.823 kN ( ทิศชี้ขึ้น ) ผมเขาใจถูกต้อง หรือ ไม่ " ครับ ! " คำถามข้อที่ 3. ? กรณีการวิเคราะห์โครง Frame ตามตัวอย่างนี้ ถ้า..! โครง Frame ( ในช่วง(BD) ) 3.1) โครง Frame ในช่วง(BD) มีแรงแผ่กระจายจากภายนอก แบบ Uniform Distribution Load : W = 5 kN/m ( กระทำตลอดช่วง ( BD ยาว 3 m. ) ) 3.2) และ มีแรงจากภายนอกกระทำแบบเป็นจุด concentrated load ขนาด F(D) = 10 kN ( ** กระทำร่วม ** ที่กึ่งกลางของ Frame ในช่วง ( BD = 1/2 ( 3 m. ) ) ) ไม่ทราบว่า..! เราจะใช้วิธี Slope-Deflection Method ในการ " วิเคราะห์ " โครง Frame นี้..! ได้ หรือ ไม่ " ครับ ! " ขอบคุณ ครับ !
ตอบคำถามข้อที่ 1 แรง 10 kN ที่กระทำที่จุดรองรับ D ไม่มีผลต่อสมการ slope-deflection ที่เป็นสมการของ end moment (โมเมนต์ที่ปลายชิ้นส่วน) เพราะแรงภายนอกดังกล่าวถ่ายลงสู่จุดรองรับ D โดยตรงครับ ไม่ก่อให้เกิด FEM บนชิ้นส่วนของเฟรม
ตอบคำถามที่ 2 ... ถูกต้องครับ และแรง reaction จะนำไปออกแบบจุดรองรับและฐานรากครับ .... อันนี้ อยากให้ลูกศิษย์ของผมคิดต่อครับ เพราะได้สอนเรื่องการหา reactions ไว้ในการบรรยายครั้งก่อนด้วยแล้ว ... ขอบคุณครับ
คำถามข้อที่ 3 ... ได้ครับ เมื่อเพิ่มแรงกระทำเป็นจุด P =10 kN ที่กึ่งกลาง span ของชิ้นส่วน BD (L = 3 m) แล้ว ในการหา FEM เราต้องนำแรงทั้งสองมาคิด เช่น FEM ที่ปลาย DB จะเป็น wL^2/12+PL/8 และเท่ากับ FEM ที่ปลาย BD แต่เครื่องหมายตรงกันข้าม ครับ
@@sittichaiseangatith4123 กราบขอบพระคุณ ท่านอาจารย์ ที่ได้กรุณาตอบข้อสงสัย ดังกล่าว " ครับผม "
ขอบคุณครับ
สอนดีมากเลยนะครับ อยากให้มีคลิปดีดีแบบนี้ออกมาบ่อยบ่อยครับ
อาจารย์ครับ มีเอกสารแจกไหมครับ
มี Link อยู่ที่คำอธิบายใต้ video clip ครับ .... การบรรยายครั้งที่ 1 การวิเคราะห์โครงสร้าง (STRUCTURAL ANALYSIS) วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม 2567 เอกสารประกอบการสอน : drive.google.com/file/d/1iyrRqCes2v8bTRbqEhTTEIBLK0rTXTUR/view?usp=sharing .............................................................
วิเคราะห์หรือทฎษฏี
ชอบมากครับ สอนเข้าใจง่ายสุดๆ
ดีครับ สร้างสรรมาก
( 49:38 ) ขั้นตอนที่ 1. เราเขียน Primary truss ( โครงที่ 1. ) โดยนำ Member(CE) ที่เป็น Member เกินจำเป็น ออกจาก Primary truss ( โครงที่ 1. ) แล้วร่าง Elastic curve ของ Primary truss ( โครงที่ 1. ) เราคาดการณ์ ว่า..! Member(CE) อาจจะเกิดการ ยืด หรือ หดตัว ( ตามแนวแกน : เกิด Delta(CE) ) เขียนเป็นความสัมพันธ์ Delta(CE) = L'(CE) - L(CE) ขั้นตอนที่ 2. เราเขียน Primary truss ( โครงที่ 2. ) ใส่แรงสมมุติ F(CE) , ทิศพุ่งออกจาก จุด C และ จุด E ( เมื่อแรงพุ่งออกจาก จุด(C และ E) , Member(CE) จะรับแรงดึง , รั้งจุด C และ รั้งจุด E เอาไว้ ไม่ให้เคลื่อน จุด ออกห่างจากกัน ตามแนวแกน ) เมื่อเราร่าง Elastic curve ของ Primary truss ( โครงที่ 2. ) จะเกิดการเปลี่ยนตำแห่นง โดยดึงจุด C และ จุด E " กลับ " ตามแนวแกน CE ด้วยแรง( redundant force : F(CE) = 1 หน่วย ) เขียนเป็นความสัมพันธ์ จะได้ ว่า..! f(CE,CE) • F(CE) เมื่อประกอบความสัมพันธ์ ของทั้ง 2 ขั้นตอน เข้าด้วยกัน " ตามเงื่อนไขความสอดคล้อง " แล้วเขียนเป็น Compatibility Condition Equation จะได้ว่า ..! การเปลี่ยนแปลงความยาว ตามแนวแกน ของ Member(CE) เป็นศูนย์ = เงื่อนไข Primary truss ( โครงที่ 1. ) + เงื่อนไข Primary truss ( โครงที่ 2. ) เขียนเป็นสมการ 0 = + Delta(CE) + f(CE,CE) • F(CE) หาแรง F(CE) = - Delta(CE) / f(CE,CE) ( เป็นไปตามเนื้อหาของการบรรยาย ) คำถาม ? " ครับ " การเขียน Compatibility Condition Equation กรณี ! " Redundant " เนื่องจากแรงของชิ้นส่วนภายใน Internal Indeterminate Truss " ค่อนข้างจะมองภาพเพื่อเขียน Compatibility Condition Equation ได้ยากกว่า Redundant จากภายนอกที่เป็น( Support Truss ) " กรณี ! การเขียน Compatibility Condition Equation ( ตามตัวอย่างของการบรรยาย ) *** เรามองอย่างนี้ ได้ไหม " ครับ " *** การเปลี่ยนแปลงความยาว ตามแนวแกน ของ Member(CE) เป็นศูนย์ = โครง Primary truss ( โครงที่ 1. ) ที่เรานำ Member(CE) ออก " แล้วเกิดการ ทรุดตัวลง " เนื่องจากแรงภายนอกมากระทำต่อโครง Truss + โครง Primary truss ( โครงที่ 2. ) " ที่เราใส่แรงดึงใน Member(CE) ขนาด = 1 หน่วย " เพื่อให้ โครง Primary truss ( โครงที่ 2. ) " มีแนวโน้ม โก่งตัวขึ้น กลับมาดังเดิม " เขียนเป็นสมการ Compatibility Condition Equation 0 = + Delta(CE) + f(CE,CE) • F(CE) " ขอบคุณ ครับ ! "
ไม่ควรใช้คำว่า “ทรุดตัวลง” นะครับ มันเป็น “การเปลี่ยนตำแหน่ง (ยืด/หด) ในแนว CE ของ truss” ครับ อจ ขอทบทวน โดยย่อ ดังนี้ ในกรณีนี้ เราตั้ง sign convention โดยสมมุติให้แรงในชิ้นส่วน CE ของ truss (ที่เป็น redundant force) ตามโจทย์เป็น “บวก” และชิ้นส่วน truss จะยืด (ภายใต้แรงกระทำที่กำหนดและมันจะมีค่าน้อยมาก ๆ (ตรวจสอบได้ภายหลัง) จนเราถือว่า เป็นมีค่าประมาณ 0) จากนั้น นำ princ of superposition มาเขียนแยก truss ออกเป็น 2 กรณี truss ที่ 1 และที่ 2 (ตามที่คุณเรียก) จากนั้น ร่าง elastic curve ของ truss ทั้งสอง โดยพิจารณาจากรูปร่างของ truss/ การรองรับ/ แรงกระทำ/ sign convention ฯลฯ เราจะใช้จินตนาการเขียน elastic curve ของ truss ได้ คร่าว ๆ (ดู ตย ใน textbook) และเขียนสมการ delta CE สำหรับ truss ที่ 1 เป็น + (สมมุติตาม sign convention ว่า ยืด) และ f CE CE ใน truss ที่ 2 เป็น บวก เช่นกัน และสุดท้าย เราได้สมการ 0 = delta CE + f CE CE (redundant F CE)
ในการหา การเปลี่ยนตำแหน่ง ทั้งสองค่า เราได้ delta CE เป็นลบ แสดงว่า ในความเป็นจริง delta CE มีทิศตรงกันข้ามกับ virtual unit force (ที่เรากำหนดจาก sign convention แรงดึงในชิ้นส่วน เป็นบวก เมื่อเอาแรงดึงในชิ้นส่วนมากระทำที่ joint จะได้แรงในแนว CE แต่ทิศที่ joint C และ E จะตรงกันข้ามกับที่ ปลาย C อ และ E ตามกฏข้อที่ 3 ของนิวตั้น) ส่วน f CE CE นั้น คำนวณจากการให้แรง F CE ที่สมมุติให้เป็น 1.0 หน่วย และในกรณีนี้ เป็นพุ่งออกจาก joint C และ E (ได้ n) ดังนั้น จึงเหมือนกับในกรณีของ virtual unit force (ได้ n) … ทำให้ได้ f CE CE เป็น + จากนั้น เมื่อแทนกลับใน compatibility condition เราจะได้แรงเกินจำเป็น F CE ที่เป็น + แสดงว่า เป็นแรงดึง ตามที่เราสมมุติตาม sign convention ครับ
@@sittichaiseangatith4123 กราบขอบพระคุณ “ ครับผม ! ”
@@sittichaiseangatith4123 ( 49:38 ) " ขออนุญาต ทำความเข้าใจ ในเนื้อหาของการบรรยาย และ คำอธิบาย ของท่านอาจารย์ " กรณี ! " ความไม่เข้าใจ " ในการเขียน Compatibility Condition Equation ( ของโครง Internal Statically Indeterminate Truss ตามตัวอย่างข้อนี้ ) ดังนี้ ! 1.) เราสามารถหา Reaction Support ของโครง Truss นี้ได้โดยตรง R(Ax) = 0 R(Ay) = 4.00 kN R(Dy) = 3.50 kN 2.) แต่ ! เมื่อเราทำ Method of joint E ( Unknown มีมากกว่า Equation ) โจทย์จึงกำหนดให้แรงใน Member(CE) เป็น reundant 3.) เราจึงต้องหาค่าแรงภายในของ Member(CE) " ให้ได้เสียก่อน " ( โดยวิธี Consistent Deformation Method ) 3.1) จากหลักการ Principal of Superposition เราแยก Truss ออกเป็น 2 กรณี และ " จากเงื่อนไขความสอดคล้อง " Compatibility condition equation เราเขียนความสัมพันธ์นี้ ได้ว่า ! การเปลี่ยนตำแหน่งตามแนวแกนของชิ้นส่วน Member(CE) : Delta(CE) ให้มีค่าเป็น 0 ( การยืด หรือ หดตัว ตามแนวแกน ของ Member(CE) ให้มีค่า ~= 0 ) = กรณีที่ 1. Primary truss. ที่เรานำ Member(CE) ออก และเมื่อ Primary truss ถูกแรงจากภายนอก 4.5 kN และ 3.0 kN มากระทำ( ตามรูปตัวอย่าง ) เมื่อเขียนเส้น Elastic curve " แล้วเราประมาณได้ว่า " เรากำหนดให้..! ( เส้นตามแนวแกน(CE) : Delta(CE) ) " มีการยืดตัวออก " ( แล้วเรายังกำหนดให้ " การยืดตัวออกของ Delta(CE) นั้น " ** ให้มีค่าเป็น + เอาไว้ก่อน ** ) + กรณีที่ 2. โครง Truss(โครงที่ 2) เราใส่แรง redundant force : F(CE) และ ให้แรง F(CE) มีขนาด = 1 หน่วย กำหนดให้ F(CE) เป็น " แรงดึง ตามแนวแกน CE " ( และ เรายังกำหนดให้ " แรงดึง " นั้นมีค่าเป็น + ) เมื่อเขียน Compatibility condition equation จะได้ว่า ! 0 = + Delta(CE) + f(CE,CE)•F(CE) F(CE) = - Delta(CE) / f(CE,CE) Note : ตามกรณีที่ 1. เมื่อเรากำหนดให้..! ( เส้นตามแนวแกน(CE) : Delta(CE) ) " มีการยืดตัวออก " และ ให้ค่าของ การยืดตัวออกของ Delta(CE) นั้น ** ให้มีค่าเป็น + เอาไว้ก่อน ** ) เรา " อาจจะ กำหนดให้ " แรง redundant force : F(CE) ขนาด = 1 หน่วย ตามกรณีที่ 2. กำหนดให้เป็น " แรงอัด ตามแนวแกน CE " ( และ กำหนดให้ " แรงอัด " นั้นมีค่าเป็น - ) ให้ไปหักล้าง กับระยะยืด Delta(CE) ในกรณีที่ 1 เพื่อให้ การเปลี่ยนตำแหน่งตามแนวแกนของชิ้นส่วน Member(CE) : Delta(CE) มีค่าเป็น 0 เมื่อเขียน Compatibility condition equation ตามกรณีนี้ จะได้ว่า ! 0 = + Delta(CE) - f(CE,CE)•F(CE) F(CE) = Delta(CE) / f(CE,CE) ไม่ทราบว่า ! การทำความเข้าใจ ในเนื้อหาของการบรรยาย และ คำอธิบาย ของท่านอาจารย์ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ของการบรรยาย หรือ ไม่ " ครับ ! " " ขอบพระคุณ ครับ "
ลิ้งค์ไฟล์ใช้ไม่ได้แล้วครับ
แก้ไขแล้ว ขอบคุณครับ หากมีปัญหาแจ้งมาเพิ่มได้ครับ .... และ download ได้ที่ drive.google.com/file/d/1JFLsVbsJYnNEhHO4PL5Kb6zmorKUnnAC/view?usp=sharing
@@sittichaiseangatith4123 ขอบพระคุณครับ
เรามีหลักการในการเขียน compatibility condition อย่างไรครับ ในตัวอย่างแรก 10:47 compatibility condition: 0 = delta_Bx - f_BxBx B'x อาจารย์ใช้เครื่องหมาย - f_BxBx B'x แต่ในตัวอย่างที่สอง 53:37 compatibility condition: 0 = delta_CE + f_CECE F_CE อาจารย์ใช้เป็น + f_CECE F_CE ทำไมถึงไม่เป็น - เหมือนตัวอย่างแรกครับ ขอบคุณมากครับอาจารย์
ขอให้ฟังคำอธิบายทุกตัวอย่างแล้วคิดตามครับ โดยย่อ (1) จำนวนสมการ compat cond จะเท่ากับ จำนวน DOI (2) ใช้ princ of superposition แยกโครงสร้าง เป็น primary คาน/เฟรม/truss ที่ถูกกระทำโดยแรงที่กำหนด แล้วแต่กรณี + primary คาน/เฟรม/truss ที่เอาแรงที่กำหนดออก และถูกกระทำโดย redundant โดยมีหลักกาากำหนด redundant คร่าว ๆ เช่น ในกรณี DOI = 1 ในกรณีคาน หากโจทย์ให้ deflection table มาเป็น simple beam ทำการกำหนด redundant ของคาน 1 คัว เพื่ิอให้เป็น simple beam (และมีกรณีอื่น ๆ) หากเป็นเฟรม/truss ดูว่า โจทย์ให้ข้อมูลอะไรมาที่จะทำการกำหนด redundant 1 ตัว เพื่ิอให้ frame/truss นั้นเปลี่ยนเป็น primary frame/truss แบบ statically determinate (3) ร่าง elastic curve ของ คาน /frame /truss แบบ statically determinate (4) เขียน compat cond ตามการสังเกตการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของโครงสร้างตาม elastic curve ในข้อ (3) อีกครั้ง ให้ฟัง video clip แต่ละข้ออย่างช้า ๆ และจับรายละเอียดในการเขียน compat cond ครับ
ฝากเรา อ่านข้อความในการ post ถาม/ตอบ ข้างบน ด้วยครับ เธอน่าจะได้คำตอบ Note .... พี่เขาตั้งคำถามดีมาก มีการทวนความเข้่าใจ ดังนั้น ในเวลาเราตั้งคำถาม ลองศึกษา style ของพี่ท่านไว้ใช้นะครับ
( 2:01:16 ) It is a very excellent technique for finding the internal force at point D of the truss member using the method of joint. " ตั้งแต่เรียนมา ไม่เคยมีใคร สอนเลย เทคนิควิธีนี้ ! "
รบกวนอาจารย์ ขอไฟล์ PDF สำหรับคลิปที่ 8 ด้วยครับ
Link อยู่ในรายละเอียดใต้ clip นี้นะ
1:44:46 ขอรบกวนหน่อยนะครับอาจารย์ ผมกำลังทบทวนเนื้อหาสำหรับเตรียมสอบอยู่ครับ (ไม่ใช่เพิ่งอ่านนะครับ อ่านมานานแล้ว แต่พอดูไปดูมา ก็จะงง ๆ สับสน ๆ ตี ๆ กันหน่อยครับผม) ตามตัวอย่าง Double Integration ที่อาจารย์พาทำนี้ อาจารย์อธิบายในช่วงต้นแล้วว่า Elastic Curve มีความสมมาตร ผมจึงเข้าใจว่า ที่ x = 0, v = 0 และ ที่ x = L, v = 0 ด้วยครับ แต่พอเราอินทิเกรตได้ผลลัพธ์ออกมาแล้วเป็น v(x) = Px^3/12EI - PL^2 x/16EI ผมลองแทนค่า x = L ลงไป ปรากฎว่าได้ v = PL^3/48EI นั่นคือ Elastic Curve ไม่สมมาตร มี vertical deflection ที่จุด B ด้วยครับ ผมเข้าใจอะไรผิดไปมั้ยครับอาจารย์ รบกวนอาจารย์หน่อยนะครับ ขอบคุณมาก ๆ เลยครับ ปล. youtube ของอาจารย์มีประโยชน์มาก ๆ เลยครับ กราบขอบพระคุณ
1:52:08 ในการใส่ทิศทางของแรง Unit load (แรง 1 kN) เราต้องใส่ในทิศเดียวกันกับการกระจัดของจุด C ในแนวราบด้วยใช่มั้ยครับอาจารย์ ก็คือ ถ้าผมใส่แรง 1 kN ในทิศทางตรงกันข้าม อาจจะทำให้คำตอบผิดได้ใช่มั้ยครับ ขอบคุณมาก ๆ เลยครับอาจารย์
ตามที่ อธิบาย ใน video clip ครับ หากใส่ตรงกันข้าม .. จะได้ติดลบ
@@sittichaiseangatith4123 ขอบคุณมาก ๆ เลยครับอาจารย์
3:44:15 อาจารย์กล่าวว่า "เราต้องกำหนดโมเมนต์ให้ไปในทิศทางเดียวกัน" ขอความกรุณาอาจารย์ช่วยอธิบายเพิ่มเติมหน่อยครับผมว่า.... ทำไมตรง x1 อาจารย์จึงกำหนดให้ M1 อยู่ในทิศหมุนทวนเข็มฯ ในขณะที่ M2 อาจารย์กำหนดให้อยู่ในทิศหมุนตามเข็ม ฯ (ทั้ง ๆ ที่ตอนแรกอาจารย์ให้ทวนฯ แล้วค่อยแก้เป็นตามฯ) การกำหนดให้ M1 M2 M3 อยู่ในทิศหมุนตามฯ หรือทวนฯ มีหลักการอย่างไรครับอาจารย์ หรือจริง ๆ กำหนดแบบไหนก็ได้ แล้วค่อยเลือกค่าที่เป็น + เท่านั้น ขอบคุณมาก ๆ เลยครับอาจารย์
อจ หมายถึง M1 กำหนดทิศอย่างไร m1 ก็กำหนดแบบนั้น และ M2 กำหนดทิศอย่างไร m2 ก็กำหนดแบบนั้น ... ในแบบคณิตศาสตร์ Mi กำหนดทิศอย่างไร mi ก็กำหนดแบบนั้น ... ไม่ต้องไปกังวลกับทวนฯ หรือตามเข็มฯ ครับ
@@sittichaiseangatith4123 ขอบคุณมากครับอาจารย์
1:15:12 ทำไมจุด C จึงไม่มีการขยับในแนวแกน y, Delta C y = 0, ครับอาจารย์
ในการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยการคำนวณมือ เราสมมุติให้วัสดุของโครงสร้างมีพฤติกรรมแบบ linear elastic การเปลี่ยนแปลงรูปร่างเกิดจาก bending moment เป็นหลักตาม elastic beam theory และการเปลี่ยนตำแหน่งในแนวแกน (ยืด/หดตัว) ของชิ้นส่วนคานและเสามีค่าน้อยมาก (พิสูจน์ได้ด้วยโปรแกรม SUTSTructor) ดังนั้น การเปลี่ยนตำแหน่งในแนวแกน y ของจุด C จึงพิจารณาให้เป็น 0 และการเปลี่ยนตำแหน่งในแนวนอนของจุด B C และ D มีค่าเท่ากันครับ
@@sittichaiseangatith4123 ขอบคุณมาก ๆ เลยครับอาจารย์
( 2:29:55 ) " normal for live performances " เรา Cut Section คานช่วง CD , ( 0 <= x <= 4 m. : จากซ้ายไปขวา ) เพื่อเขียนสมการ M(3) สมการ M(3) " น่าจะเขียนได้ดังนี้.. ? " Sigma moment = 0 : ( ให้หมุนทวนเป็น + ) M(3) = 22 kN. • ( 3 m. + x(3) ) - 10 kN. • ( 5 m. + x(3) ) - 8 kN/m.• ( x(3)) • ( x(3)/2 ) M(3) = 66 kN-m.+ 22(x(3)) - 50 kN-m. - 10(x(3)) - 4 kN/m.•(x(3))^2 M(3) = 16 + 12•x(3) - 4•x(3)^2
ขอบคุณครับ .. อจ พลาดครับผม
กลับมาทบทวนครับอาจารย์
ครับผม 😊
( 1:20:15 ) กรณีนี้ ! ท่านอาจารย์กำลังหมายถึง ว่า ! เรากำลังจะหาค่า " Moment ภายในสูงสุด " ที่ตำแหน่ง B : M(B, max) โดยการวาง loads 1.) น้ำหนักคาน DL(w) = 10 kN/m 2.) น้ำหนักจร LL(w) = 10 kN/m 3.) Point load (F) = 30 kN ลงบน Influence line diagram of M(B) แล้วได้ค่า M(B, max) = - 2,300 kN-m มิได้หมายถึง การหาค่า M(E, max) เนื่องด้วยที่จุด E เป็นบานพับภายใน ( Internal hinge ) " จึงไม่เกิด Moment ภายในคาน ณ. จุดดังกล่าว " ถูกต้องหรือไม่ " ครับ "
ใช่ครับผม
@@sittichaiseangatith4123 กราบขอบพระคุณท่านอาจารย์ ครับ ! ขออนุญาตเรียนถามเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ ครับ ! กรณีการหาค่า Moment ภายในคาน(สูงสุด) ที่เกิดขึ้น ณ.ตำแหน่ง จุด B, M(B, max) โดยการวาง load บนเส้นอิธิพล ( Influence line diagram of M(B) ) โดยวาง load ดังต่อไปนี้ ! 1.) คานมีน้ำหนัก = 10 kN/m 1.1) เราจึงวาง DL(w) = 10 kN/m ตลอดความยาวเส้น Influence line diagram of M(B) เพื่อใช้ประกอบการคำนวณหาค่า M(B, max) 2.) น้ำหนักจรที่กระทำต่อคานนี้ " ถูกกำหนดขึ้นให้ LL(w) = 10 kN/m " " ซึ่งอาจเป็นน้ำหนักที่เกิดขึ้นจริง ตามข้อกำหนด " เช่น คานนี้อาจรับน้ำหนักจรของพื้นทางเดียว ของอาคารประเภทโรงแรม = 2.0 kN/m^2 2.1) เราจึงวาง LL(w) = 10 kN/m ลงบน ( Influence line diagram of M(B) ) เฉพาะในช่วงจาก B ถึง D ( เพื่อให้ได้ค่า Moment " วิกฤต " ที่จุด B ) มาถึงข้อสงสัย ครับ ! 3.) กรณีโจทย์กำหนด " point load จร : LL(F) = 30 kN " คำถามข้อที่ 3-1 ? 3-1) " point load จร : LL(F) = 30 kN " หมายถึง ! น้ำหนัก point load ( เช่น ตู้เซฟ ฐานแคบที่มีน้ำหนัก = 30 kN ) ที่เราอาจจะเลือกนำไปวางไว้บนเส้น ( Influence line diagram of M(B) ) , ที่ตำแหน่งจุด E ( เพื่อประกอบให้ได้ค่า Moment " วิกฤต " ที่จุด B ) " ใช่ไหม ครับ ? " คำถามข้อที่ 3-2 ? 3-2) " point load : LL(F) = 30 kN " ** มิได้หมายถึง ! ** " dead point load at point E " ( dead point load ที่เป็นประเภทคานฝาก " ที่มีอยู่จริง " ณ.จุด E ) " ขอบพระคุณครับ "
@@sittichaiseangatith4123 กราบขอบพระคุณท่านอาจารย์ ครับ ! ขออนุญาตเรียนถามเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ ครับ ! ( 1:20:15 ) กรณีการหาค่า Moment ภายในคาน(สูงสุด) ที่เกิดขึ้น ณ.ตำแหน่ง จุด B, M(B, max) โดยการวาง loads บนเส้นอิธิพล ( Influence line diagram of M(B) ) โดยวาง loads ดังต่อไปนี้ ! 1.) คานมีน้ำหนัก = 10 kN/m 1.1) เราจึงวาง DL(w) = 10 kN/m ตลอดความยาวเส้น Influence line diagram of M(B) เพื่อใช้ประกอบการคำนวณหาค่า M(B, max) 2.) น้ำหนักจรที่กระทำต่อคานนี้ " ถูกกำหนดขึ้นให้ LL(w) = 10 kN/m " " ซึ่งอาจจะเป็นน้ำหนักที่เกิดขึ้นจริง ตามข้อกำหนด " เช่น ! คานนี้อาจรับน้ำหนักจรของพื้นทางเดียว ของอาคารประเภทโรงแรมที่มี live loads = 2.0 kN/m^2 2.1) เราจึงวาง LL(w) = 10 kN/m ลงบน ( Influence line diagram of M(B) ) เฉพาะในช่วงจาก B ถึง D ( เพื่อให้ได้ค่า Moment " วิกฤต " ที่จุด B ) มาถึงข้อสงสัย ครับ ! 3.) กรณีโจทย์กำหนด " point load จร : LL(F) = 30 kN " คำถามข้อที่ 3-1 ? 3-1) " point load จร : LL(F) = 30 kN " หมายถึง ! น้ำหนัก point load ( เช่น ! “ ตู้เซฟ “ ฐานแคบที่มีน้ำหนัก = 30 kN ) ที่เราอาจจะนำไปวางไว้บนเส้น ( Influence line diagram of M(B) ) , ที่ตำแหน่งจุด E ( เพื่อประกอบการคำนวณ ให้ได้ค่า Moment " วิกฤต " ที่จุด B ) " ใช่ไหม ครับ ? " คำถามข้อที่ 3-2 ? 3-2) " point load : LL(F) = 30 kN " ดังกล่าวนี้ ! ** มิได้หมายถึง ! ** " dead point load at point E " ( dead point load ที่มีลักษณะเป็นคานฝาก " ที่มีอยู่จริง " ณ.จุด E ) " ขอบพระคุณครับ "
@@thatrip4737 ตอบข้อที่ 3-1 : ใช่ครับ ตามหลักการ point load หรือแรงกระทำเป็นจุด จะก่อให้เกิดอิทธิพล (influence) สูงสุดของ MB เมื่อวาง point load ดังกล่าว (30 kN) ตรงจุดที่มีพิกัดสูงสุดของ IL ที่จุด E ในกรณีนี้คือ -10.0 ครับ
ตอบข้อที่ 3-2 กรณีเป็นคานฝาก .. น้ำหนักของคานฝากที่ถ่ายลงมาสู่คานที่จุด E ในรูปของแรง reaction ซึ่งถูกพิจารณาเป็น point load แบบ dead load จะอยู่ที่จุดเชื่อมต่อ ฎ ของคานฝากเสมอครับ ...
ในทางปฎิบัติเวลาเราจะรู้น้ำหนักอะไรสักอย่าง ช่างเขาจะบอกมาเป็น Kg เราก็แค่คูณ 9.81 เข้าไปก็ทำการคำนวนในชีวิตจริงได้เลยใช่ไหมครับอาจารย์
.. ในวิชานี้ มวล หรือ mass ในหน่วยสากลระบบ SI มีหน่วยเป็น kg หากจะหาน้ำหนัก ก็คูณ 9.81 เพื่อเปลี่ยนเป็นหน่วยแรง นิวตัน N ครับ
33:10 เห็นด้วยครับคือส่วนตัวผมจบโลหการแต่เวลาไปทำงานจริงเจอช่างเชื่อมลองเชิงไปไม่เป็นทำได้แค่แนะนำและตรวจสอบเพราะ Job Description ผมเป็น Inspector แต่ลึกๆในฐานะวิศวกรก็อยากเอาเวลาไปฝึกเชื่อมจริงๆดูสักครั้งนึงเพราะบางคำถามเวลาช่างเชื่อมถามมาเราไม่เข้าใจก็เยอะครับ
ผมเรียนก่อสร้างมา 3รอบแล้วครับไม่จบสักทีถ้าผมจบจะไปต่อโยธาและความฝันของผมยากเป็นอาจารย์สอนในมหาลัยครับไม่รู้จะทำได้ไหม
❤
เข้าใจว่า ! ในการตั้งคำถามดังต่อไปนี้ น่าจะเป็นเนื้อหาที่นอกเหนือจากการบรรยาในครั้งนี้ และ อาจจะเป็นเนื้อหาในวิชา Steel Design แต่เพื่อการมองภาพโดยรวมให้ออก ว่า ! ในการศึกษาวิชา " ทฤษฎีโครงสร้าง " ต่อไปยังวิชา " วิเคราะห์โครงสร้าง " เพื่อนำไปใช้ออกแบบ ในวิชา " Steel Design " เราพอจะมองภาพโดยรวมออก หรือไม่ ! ( 56:32 ) หัวข้อของคำถาม ? " ครับ ! " จากข้อมูลการออกแบบโครงหลังคา Steel Truss Roof บ. เหล็กสยามยามาโตะ จก. (SYS) 1. " ถ้าผมต้องการออกแบบโครงหลังคา นี้ " โดยเลือกความยาวช่วงพาด ( Span Length ) = 30.00 m. Overhanging Length ชายคายื่น 2.00 m ( สองข้าง ) ความสูงจากพื้นที่ก่อสร้างถึงระดับท้อง ( Truss Bottom Chord ) = 9.00 m. ความชันของหลังคา Slope Roof = 5 degree *** Span to Depth ratio = 16 - 12 *** คำถามข้อที่ 1. " ? " ( 1:00:15 ) จากรูปตัด ตามตัวอย่างของโครงหลังคา Truss นี้ ** " ผมต้องการทราบ " ** ความลึก( เบื้องต้น ) ของโครง Truss Depth : D2 ( เพื่อใช้ในการวิเคาะห์ ออกแบบ ) " ผมเลือกใช้ " สมการประมาณความลึกของโครง Truss Depth : D2 ** จาก Span to Depth ratio = 12 ** จะได้ว่า 30 / Depth = 12 ( Truss Depth : D2 = 2.50 m. ) เมื่อ Roof Slope = 5 degree Truss Depth : D1 17tan(5) = 1.49 m. 2.5 m. - 1.49 m. = 1.01 m. ( เพาะฉนั้นเราเลือกให้ความลึกของ Truss Depth : D1 ลึก = 1.00 m. ) สรุปคำถามข้อที่ 1. ( 1:00:15 ) Cross Section Truss 1.1) Truss Depth : D2 = 2.50 m. 1.2) Truss Depth : D1 = 1.00 m. 1.3) Span : 30@1.00 m. = 30.00 m. Overhanging Length ชายคา 2@1.00 m. = 2.00 m. ( สองข้าง ) 1.4) Diagonal members ทำมุมเอียงตามรูปตัวอยู่ " ผม " ประมาณความลึกของหน้าตัด Truss " เบื้องต้น " Geometry of truss for analysis แบบนี้ ! ถือว่ามาถูกทางหรือไม่ " ครับ ! " คำถามข้อที่ 2. 2.1) Diagonal members ช่วงภายใน Span 30 m. ตามรูปตัวอย่าง ทำมุมเอียงต่างไปจาก Diagonal members ช่วงที่เป็นชายคา ไม่ทราบว่า ! มีเหตุผลทางด้านวิศวกรรม หรือไม่ " ครับ " ขอบคุณครับ
ขอบคุณครับ สำหรับคำถาม จุดประสงค์ที่นำคู่มือนี้มาประกอบคำบรรยาย เพื่อกระตุ้นให้ นศ มีความอยากรู้มากขึ้นในวิชาชีพ ที่สามารถสืบหาได้จากแหล่งต่าง ๆ ครับ ในส่วนของการใช้คู่มือฯ นั้น เป็นไปตามคู่มือฯ กำหนดครับ
@@sittichaiseangatith4123 กราบขอบพระคุณท่านอาจารย์ ครับ !
ขอบใจที่เข้าใจนะครับ โดยจรรยาบรรณวิศวกรนั้น เราไม่ควรแสดงความคิดเห็นต่องานของวิศวกรท่านอื่น ๆ นะครับ