อาจารย์สอนได้ดีครับเข้าใจง่าย เรียนกับหลายท่านวิธีการสอนไม่เหมือนกัน
( 1:12:25 ) Solve equation 1 and equation 2. ( โดยใช้ค่าตัวเลขตามตัวอย่าง ของการบรรยาย ) 291.67•R(Dx) - 250•R(Dy) = - 2500 ( Equation 1 ) - 250•R(Dx) + 333.33•R(Dy) = 4166.67 ( Equation 2 ) R(Dx) = 6 kN *** R(Dy) = 17 kN *** " ? "
อาจารย์ครับรับสอนเป็นแบบวิดิโอไหมครับสอนแบบเป็นบทไปที่ละบทสนใจเรียนครับเพราะผมเรียน ปวส.ช่างก่อสร้างอยู่เรียนไม่ค่อยเข้าใจเลยครับ
ขอบคุณครับอาจารย์
( 1:30:30 ) 1.) กรณีการเสริมเหล็กเสริม รับแรงดึง ในหน้าตัดคาน คสล. แบบ Over Reinforced ในหน้าตัดคานขนาด b = 25 cm h = 40 cm f'c = 240 ksc f(y) = 4,000 ksc ( เสริมเหล็กรับแรงดึง 6DB25 mm ) 2.) คำนวณ โมเมนต์ระบุ ได้ ! M(n) = 20,351 kg-m 3.) คำนวณความเค้นของเหล็กเสริมรับแรงดึง : Stress(s) ได้ ! Stress(s) = 3,073 ksc เมื่อ Stress(s) < f(y) 3,073 ksc < 4,000 ksc ( แสดงว่า ! เหล็กเสริมรับแรงดึง " ไม่คราก " ) 4.) ถ้าเราหาต้องการหาค่า " ความเครียดของเหล็กเสริมรับแรงดึง : epsilon(s) จากสมการ epsilon(s) = (d-c)/c • epsilon(cu) epsilon(s) = ( 31.35 - 20.87 ) / 20.87 • 0.003 epsilon(s) =~ 0.0015 คำถามที่ 1 " ครับ " คานนี้..! สามารถโมเมนต์ระบุ ได้ ! M(n) = 20,351 kg-m โดยที่เหล็กเสริมรับแรงดึง จะยืดตัวในช่วง Elastic " ไม่เกิดการคราก ของเหล็กเสริม " ( โดยมีค่า epsilon(s) =~ 0.0015 ) ( เป็นจุดสุดท้าย.! ก่อนที่ Concrete จะเกิดการ " วิบัติ " โดยการอัดแตก ) คำถามที่ 2 " ครับ " แต่ถ้าคานนี้ ! ต้องรับโมเมนต์ เกินกว่า 20,351 kg-m ค่าความเครียดของเหล็กเสริม epsilon(s) จะเพิ่มขึ้นเกิน 0.0015 และ จะทำให้ค่าความเครียดของคอนกรีต epsilon(cu) ถึงจุด 0.003 เป็นผลให้ Concrete " วิบัติ " โดยการอัดแตก( แบบทันทีทันใด ) โดยที่เราไม่สามารถสังเกตุเห็นรอยแยกของ คานคอนกรีต ก่อนเกิดการ " วิบัติ ของคาน " อันเนื่องมาจาก เหล็กเสริมรับแรงดึง " ไม่เกิดการคราก " ไม่ทราบว่า ! ความเข้าใจดังกล่าว ถูกต้อง หรือ ไม่ " ครับ " ขอบคุณครับ
( 1:04:00 ) 1.) กรณีโจทย์ตัวอย่าง " คานยื่น " ยาว = 2.00 m หน้าตัดคาน คสล. b = 25 cm h = 60 cm f'c = 280 ksc f(y) = 4,000 ksc ( เสริมเหล็กรับโมเมนต์(ลบ) 3DB20 mm 2.) โจทย์ให้คำนวณ point load ultimate : P(u) ว่า ! จะสามารถเพิ่มค่า P(u) ได้อีกเท่าไร ? " คานยื่น " นี้ ถึงจะไม่ " วิบัติ " 2.1) เมื่อ..! คำนวณแล้ว " คานยื่น " นี้ สามารถรับน้ำหนัก P(u) เพิ่มได้อีก = 2,782.50 kg คำถามที่ 1 " ครับ ! " น้ำหนัก Point Load Ultimate : P(u) หมายถึง P(u) = 1.4DL เพราะฉนั้น น้ำหนัก point load : DL ( ** ที่ปลอดภัย ** ที่จะสามารถเพิ่มได้ ณ.ตำแหน่งปลายคานยื่น นี้ ! ) จะเท่ากับ DL = P(u) / 1.4 DL = 2,782.50 kg / 1.4 DL = 1,987.5 kg ( เป็นน้ำหนัก point load : DL ที่จะสามารถเพิ่มได้ ที่ปลายคาน ) ไม่ทราบว่า ! ความเข้าใจนี้ถูกต้อง หรือ ไม่ " ครับ ! " ขอบคุณครับ
1.) ( 3:02:50 ) เมื่อเรา Cut section คานเสมือน( Virtual beam ) ในช่วงคาน จาก D ไป C ( เป็นระยะ x(3) ) ( 4.5 >= x >= 0 ) ( C >= x >= D ) เพื่อเขียนสมการ m(3) สมการ m(3) น่าจะเขียนได้ ว่า..! ** m(3) = - 1 ( kN•m ) ** note : แต่ ! เนื่องจากสมการ M(3) = 0 หาค่าtheta(D) ในช่วง ( D ไป C ) theta(D) = Integrate ( จาก 0 ถึง 4.5m.) m(3)•M(3) / EI dx theta(D) = 0 ( พจน์ของการหา theta(D) ในช่วงนี้จึงไม่มีผลต่อการคำนวณหา theta(D) เพราะว่า M(3) มีค่าเป็น " ศูนย์ " ) 2.) ( 3:12:20 ) เมื่อเรา Cut section คานเสมือน( Virtual beam ) ในช่วงคาน จาก B ไป C เป็นระยะ ( x(2) ) ( 0 <= x <= 3 ) ( B <= x <= C ) เพื่อเขียนสมการ m(2) สมการ m(2) น่าจะเขียนได้ ว่า..! ** m(2) = - 1/6 • ( 3 + x(2) ) ** ** m(2) = - 1/2 - 1/6x(2) ** 3.) ( 3:14:25 ) หาค่า theta(D) ในช่วง ( B ไป C ) theta(D) = Integrate ( จาก 0 ถึง 3m.) m(2)•M(2) / EI theta(D) = Integrate ( จาก 0 ถึง 3m.) ( - 1/2 - 1/6x(2) ) ( 105 - 35x(2) ) / EI dx theta(D) = -105 / EI ** ดังนั้นค่า theta (D) น่าจะมีค่าเท่ากับ " ? " ** theta (D) = - 165 / 2EI - 105 / EI theta (D) = - 187.5 / EI theta (D) = 0.003125 ( rad ) ( ทิศทางหมุนทวนเข็มนาฬิกา เมื่อวัดมุมเทียบกับแกน x ) " ? "
( 44:59 ) สมการการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง " เชิงมุม : theta " ของคาน Overhanging beam ที่หาได้ ณ.จุด (C) ( ตามรูปตัวอย่างของการบรรยาย ) theta (C) = - (7/6)•(P(a)^2 / EI) ค่าของมุมที่คำนวณได้ มีหน่วยเป็น “ เรเดียน (radian) “ ใช่ หรือ ไม่ " ครับ ! " ขอบคุณ ครับ
🙏🙏🙏
สุดยอดครับจารย์เบ้น
อาจารย์สอนได้ดีครับเข้าใจง่าย เรียนกับหลายท่านวิธีการสอนไม่เหมือนกัน
( 1:12:25 ) Solve equation 1 and equation 2. ( โดยใช้ค่าตัวเลขตามตัวอย่าง ของการบรรยาย ) 291.67•R(Dx) - 250•R(Dy) = - 2500 ( Equation 1 ) - 250•R(Dx) + 333.33•R(Dy) = 4166.67 ( Equation 2 ) R(Dx) = 6 kN *** R(Dy) = 17 kN *** " ? "
อาจารย์ครับรับสอนเป็นแบบวิดิโอไหมครับสอนแบบเป็นบทไปที่ละบทสนใจเรียนครับเพราะผมเรียน ปวส.ช่างก่อสร้างอยู่เรียนไม่ค่อยเข้าใจเลยครับ
ขอบคุณครับอาจารย์
( 1:30:30 ) 1.) กรณีการเสริมเหล็กเสริม รับแรงดึง ในหน้าตัดคาน คสล. แบบ Over Reinforced ในหน้าตัดคานขนาด b = 25 cm h = 40 cm f'c = 240 ksc f(y) = 4,000 ksc ( เสริมเหล็กรับแรงดึง 6DB25 mm ) 2.) คำนวณ โมเมนต์ระบุ ได้ ! M(n) = 20,351 kg-m 3.) คำนวณความเค้นของเหล็กเสริมรับแรงดึง : Stress(s) ได้ ! Stress(s) = 3,073 ksc เมื่อ Stress(s) < f(y) 3,073 ksc < 4,000 ksc ( แสดงว่า ! เหล็กเสริมรับแรงดึง " ไม่คราก " ) 4.) ถ้าเราหาต้องการหาค่า " ความเครียดของเหล็กเสริมรับแรงดึง : epsilon(s) จากสมการ epsilon(s) = (d-c)/c • epsilon(cu) epsilon(s) = ( 31.35 - 20.87 ) / 20.87 • 0.003 epsilon(s) =~ 0.0015 คำถามที่ 1 " ครับ " คานนี้..! สามารถโมเมนต์ระบุ ได้ ! M(n) = 20,351 kg-m โดยที่เหล็กเสริมรับแรงดึง จะยืดตัวในช่วง Elastic " ไม่เกิดการคราก ของเหล็กเสริม " ( โดยมีค่า epsilon(s) =~ 0.0015 ) ( เป็นจุดสุดท้าย.! ก่อนที่ Concrete จะเกิดการ " วิบัติ " โดยการอัดแตก ) คำถามที่ 2 " ครับ " แต่ถ้าคานนี้ ! ต้องรับโมเมนต์ เกินกว่า 20,351 kg-m ค่าความเครียดของเหล็กเสริม epsilon(s) จะเพิ่มขึ้นเกิน 0.0015 และ จะทำให้ค่าความเครียดของคอนกรีต epsilon(cu) ถึงจุด 0.003 เป็นผลให้ Concrete " วิบัติ " โดยการอัดแตก( แบบทันทีทันใด ) โดยที่เราไม่สามารถสังเกตุเห็นรอยแยกของ คานคอนกรีต ก่อนเกิดการ " วิบัติ ของคาน " อันเนื่องมาจาก เหล็กเสริมรับแรงดึง " ไม่เกิดการคราก " ไม่ทราบว่า ! ความเข้าใจดังกล่าว ถูกต้อง หรือ ไม่ " ครับ " ขอบคุณครับ
( 1:04:00 ) 1.) กรณีโจทย์ตัวอย่าง " คานยื่น " ยาว = 2.00 m หน้าตัดคาน คสล. b = 25 cm h = 60 cm f'c = 280 ksc f(y) = 4,000 ksc ( เสริมเหล็กรับโมเมนต์(ลบ) 3DB20 mm 2.) โจทย์ให้คำนวณ point load ultimate : P(u) ว่า ! จะสามารถเพิ่มค่า P(u) ได้อีกเท่าไร ? " คานยื่น " นี้ ถึงจะไม่ " วิบัติ " 2.1) เมื่อ..! คำนวณแล้ว " คานยื่น " นี้ สามารถรับน้ำหนัก P(u) เพิ่มได้อีก = 2,782.50 kg คำถามที่ 1 " ครับ ! " น้ำหนัก Point Load Ultimate : P(u) หมายถึง P(u) = 1.4DL เพราะฉนั้น น้ำหนัก point load : DL ( ** ที่ปลอดภัย ** ที่จะสามารถเพิ่มได้ ณ.ตำแหน่งปลายคานยื่น นี้ ! ) จะเท่ากับ DL = P(u) / 1.4 DL = 2,782.50 kg / 1.4 DL = 1,987.5 kg ( เป็นน้ำหนัก point load : DL ที่จะสามารถเพิ่มได้ ที่ปลายคาน ) ไม่ทราบว่า ! ความเข้าใจนี้ถูกต้อง หรือ ไม่ " ครับ ! " ขอบคุณครับ
1.) ( 3:02:50 ) เมื่อเรา Cut section คานเสมือน( Virtual beam ) ในช่วงคาน จาก D ไป C ( เป็นระยะ x(3) ) ( 4.5 >= x >= 0 ) ( C >= x >= D ) เพื่อเขียนสมการ m(3) สมการ m(3) น่าจะเขียนได้ ว่า..! ** m(3) = - 1 ( kN•m ) ** note : แต่ ! เนื่องจากสมการ M(3) = 0 หาค่าtheta(D) ในช่วง ( D ไป C ) theta(D) = Integrate ( จาก 0 ถึง 4.5m.) m(3)•M(3) / EI dx theta(D) = 0 ( พจน์ของการหา theta(D) ในช่วงนี้จึงไม่มีผลต่อการคำนวณหา theta(D) เพราะว่า M(3) มีค่าเป็น " ศูนย์ " ) 2.) ( 3:12:20 ) เมื่อเรา Cut section คานเสมือน( Virtual beam ) ในช่วงคาน จาก B ไป C เป็นระยะ ( x(2) ) ( 0 <= x <= 3 ) ( B <= x <= C ) เพื่อเขียนสมการ m(2) สมการ m(2) น่าจะเขียนได้ ว่า..! ** m(2) = - 1/6 • ( 3 + x(2) ) ** ** m(2) = - 1/2 - 1/6x(2) ** 3.) ( 3:14:25 ) หาค่า theta(D) ในช่วง ( B ไป C ) theta(D) = Integrate ( จาก 0 ถึง 3m.) m(2)•M(2) / EI theta(D) = Integrate ( จาก 0 ถึง 3m.) ( - 1/2 - 1/6x(2) ) ( 105 - 35x(2) ) / EI dx theta(D) = -105 / EI ** ดังนั้นค่า theta (D) น่าจะมีค่าเท่ากับ " ? " ** theta (D) = - 165 / 2EI - 105 / EI theta (D) = - 187.5 / EI theta (D) = 0.003125 ( rad ) ( ทิศทางหมุนทวนเข็มนาฬิกา เมื่อวัดมุมเทียบกับแกน x ) " ? "
( 44:59 ) สมการการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง " เชิงมุม : theta " ของคาน Overhanging beam ที่หาได้ ณ.จุด (C) ( ตามรูปตัวอย่างของการบรรยาย ) theta (C) = - (7/6)•(P(a)^2 / EI) ค่าของมุมที่คำนวณได้ มีหน่วยเป็น “ เรเดียน (radian) “ ใช่ หรือ ไม่ " ครับ ! " ขอบคุณ ครับ
🙏🙏🙏
สุดยอดครับจารย์เบ้น