สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย ACAT
สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย ACAT
  • 104
  • 81 623
สัมนาประจำปี 2564 เรื่อง "COVID-19 กับระบบปรับอากาศ & ระบายอากาศ สำหรับสถานพยาบาล" ช่วงที่ 3
หัวข้อ : Panel Discussion
ขอขอบคุณ
ผศ.คร.ตุลย์ มณีวัฒนา , คุณอรรณพ กิ่งขจี , คุณสมจินต์ ดิสวัสดิ์ และคุณสรรค์ หอมกลิ่นจันทร์
Переглядів: 65

Відео

สัมนาประจำปี 2564 เรื่อง "COVID-19 กับระบบปรับอากาศ & ระบายอากาศ สำหรับสถานพยาบาล" ช่วงที่ 2สัมนาประจำปี 2564 เรื่อง "COVID-19 กับระบบปรับอากาศ & ระบายอากาศ สำหรับสถานพยาบาล" ช่วงที่ 2
สัมนาประจำปี 2564 เรื่อง "COVID-19 กับระบบปรับอากาศ & ระบายอากาศ สำหรับสถานพยาบาล" ช่วงที่ 2
Переглядів 322 місяці тому
หัวข้อ : การ Implementation งาน HAC สำหรับห้องป่วยติดเชื่อกับรพ.สาธารณสุข ขอขอบคุณ คุณสรรค์ หอมกลิ่นจันทร์
สัมนาประจำปี 2564 เรื่อง "COVID-19 กับระบบปรับอากาศ & ระบายอากาศ สำหรับสถานพยาบาล" ช่วงที่ 1สัมนาประจำปี 2564 เรื่อง "COVID-19 กับระบบปรับอากาศ & ระบายอากาศ สำหรับสถานพยาบาล" ช่วงที่ 1
สัมนาประจำปี 2564 เรื่อง "COVID-19 กับระบบปรับอากาศ & ระบายอากาศ สำหรับสถานพยาบาล" ช่วงที่ 1
Переглядів 562 місяці тому
หัวข้อ : ความเข้าใจใน ASHRAE 170 กับงาน HVAC ห้องผู้ป่วยติดเชื้อ ขอขอบคุณ ผศ.ตร.ตุลย์ มณีวัฒนา
สัมมนาวิชาการ ปี 2563 เรื่อง "District Cooling System & Build - Operater - Transfer(BOT)" ช่วงที่ 2สัมมนาวิชาการ ปี 2563 เรื่อง "District Cooling System & Build - Operater - Transfer(BOT)" ช่วงที่ 2
สัมมนาวิชาการ ปี 2563 เรื่อง "District Cooling System & Build - Operater - Transfer(BOT)" ช่วงที่ 2
Переглядів 1113 місяці тому
หัวข้อ : แนวความคิดในการพัฒนาระบบปรับอากาศ ONE BANGKOK - Mixed Use ขอขอบคุณ คุณธนาฒย์ เกรียวสกุล
สัมมนาวิชาการ ปี 2563 เรื่อง "District Cooling System & Build - Operater - Transfer(BOT)" ช่วงที่ 1สัมมนาวิชาการ ปี 2563 เรื่อง "District Cooling System & Build - Operater - Transfer(BOT)" ช่วงที่ 1
สัมมนาวิชาการ ปี 2563 เรื่อง "District Cooling System & Build - Operater - Transfer(BOT)" ช่วงที่ 1
Переглядів 1023 місяці тому
หัวข้อ : แนวคิดในการพัฒนาเมืองแห่งนวัตกรรมน่าอยู่ Chula Smart City ขอขอบคุณ ดร. สมบัติ วนิชประภา
สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 5สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 5
สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 5
Переглядів 374 місяці тому
หัวข้อ " เทคโน โลยี PCO (Photo-Catalytic Oxidation) UVGI" ขอขอบคุณ คุณสุวัลยา เพ็ชรพลาย
สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 4สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 4
สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 4
Переглядів 224 місяці тому
หัวข้อ "Air Scrubber โดยเทค โน โลยี Radiant Catalytic Ionization" ขอขอบคุณ คุณจิรัฏฐ์ ปัญญากุลพนิชย์
สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 3สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 3
สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 3
Переглядів 354 місяці тому
หัวข้อ "การใช้ OZONE Generator" ขอขอบคุณ คุณสมนึก ชีพพันธุ์สุทธิ์
สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 2สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 2
สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 2
Переглядів 454 місяці тому
หัวข้อ "การใช้ HEPA Fiilter" ขอขอบคุณ คุณธวัชชัย เสกียรรัตนกุล คุณณรงค์ เย็นฉ่ำ
สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 1สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 1
สัมมนาวิชาการ ครั้งที่ 2 ปี 2563 : "Covid-19 กับการเลือกใช้เทคโนโลยีการกำจัดเชื้อในอากาศ" ช่วงที่ 1
Переглядів 515 місяців тому
หัวข้อ "เทคโน โลยี UVGI (UItraviolet Germicidal Irradiation)" ขอขอบคุณ ผศ. คร. พลกฤต กฤชไมตรี
สัมมนาวิชาการ ปี 2562 : HVAC COMMISSIONING ให้สมบูรณ์แบบ มีอะไรมากกว่าที่คิด (ช่วงที่ 3)สัมมนาวิชาการ ปี 2562 : HVAC COMMISSIONING ให้สมบูรณ์แบบ มีอะไรมากกว่าที่คิด (ช่วงที่ 3)
สัมมนาวิชาการ ปี 2562 : HVAC COMMISSIONING ให้สมบูรณ์แบบ มีอะไรมากกว่าที่คิด (ช่วงที่ 3)
Переглядів 1095 місяців тому
เรื่อง "HVAC COMMISSIONING ให้สมบูรณ์แบบ มีอะไรมากกว่าที่คิด" ขอขอบคุณ คุณสมศักดิ์ จิรพัฒนะชัย
สัมมนาวิชาการ ปี 2562 : HVAC COMMISSIONING ให้สมบูรณ์แบบ มีอะไรมากกว่าที่คิด (ช่วงที่ 2)สัมมนาวิชาการ ปี 2562 : HVAC COMMISSIONING ให้สมบูรณ์แบบ มีอะไรมากกว่าที่คิด (ช่วงที่ 2)
สัมมนาวิชาการ ปี 2562 : HVAC COMMISSIONING ให้สมบูรณ์แบบ มีอะไรมากกว่าที่คิด (ช่วงที่ 2)
Переглядів 1075 місяців тому
เรื่อง "HVAC COMMISSIONING ให้สมบูรณ์แบบ มีอะไรมากกว่าที่คิด" หัวข้อ : 1.NEBB คืออะไร , มีความสำคัญอย่างไร , จำเป็นต่อการ Commsะioning หรือไม่ ㆍ ตัวอย่างการทำงาน Tezting , Adjusting , Balancing (TAB) จากผู้เชี่ยวชาญ ขอขอบคุณ คุณพงษ์พีระ แช่โค้ว
สัมมนาวิชาการ ประจำปี 2562 : HVAC COMMISSIONING ให้สมบูรณ์แบบ มีอะไรมากกว่าที่คิด (ช่วงที่ 1)สัมมนาวิชาการ ประจำปี 2562 : HVAC COMMISSIONING ให้สมบูรณ์แบบ มีอะไรมากกว่าที่คิด (ช่วงที่ 1)
สัมมนาวิชาการ ประจำปี 2562 : HVAC COMMISSIONING ให้สมบูรณ์แบบ มีอะไรมากกว่าที่คิด (ช่วงที่ 1)
Переглядів 1916 місяців тому
เรื่อง "HVAC COMMISSIONING ให้สมบูรณ์แบบ มีอะไรมากกว่าที่คิด" หัวข้อ : 1. Commizsioning คืออะไร , ครอบคลุมเรื่องอะไรบ้าง 2. Commission ning ที่ดี , สมบูรณ์แบบประกอบคั่วยอะไรบ้าง ขอขอบคุณ คุณมนตรี ณ สงขลา
สัมมนาวิชาการครั้งที่4/2562 : ปัญหาของงาน O&M และเคล็ดลับการเดินระบบปรับอากาศที่ถูกต้อง (ช่วงที่2)สัมมนาวิชาการครั้งที่4/2562 : ปัญหาของงาน O&M และเคล็ดลับการเดินระบบปรับอากาศที่ถูกต้อง (ช่วงที่2)
สัมมนาวิชาการครั้งที่4/2562 : ปัญหาของงาน O&M และเคล็ดลับการเดินระบบปรับอากาศที่ถูกต้อง (ช่วงที่2)
Переглядів 1356 місяців тому
เรื่อง : ปัญหาของงาน O&M และเคล็ดลับการเดินระบบปรับอากาศที่ถูกต้อง หัวข้อ : เสวนาโดยวิทยากรทุกท่านถึง Case Study ต่างๆ และเคล็คลับการเดินระบบปรับอากาศที่ถูกต้อง ขอขอบคุณผู้บรรยายทุกท่าน
สัมมนาวิชาการครั้งที่4/2562 : ปัญหาของงาน O&M และเคล็ดลับการเดินระบบปรับอากาศที่ถูกต้อง (ช่วงที่1)สัมมนาวิชาการครั้งที่4/2562 : ปัญหาของงาน O&M และเคล็ดลับการเดินระบบปรับอากาศที่ถูกต้อง (ช่วงที่1)
สัมมนาวิชาการครั้งที่4/2562 : ปัญหาของงาน O&M และเคล็ดลับการเดินระบบปรับอากาศที่ถูกต้อง (ช่วงที่1)
Переглядів 4296 місяців тому
เรื่อง : ปัญหาของงาน O&M และเคล็ดลับการเดินระบบปรับอากาศที่ถูกต้อง หัวข้อ : ช่วงที่ 1 "ห้องเครื่องที่คีต้องอยู่ที่ไหนและเป็นอย่างไร" ช่วงที่ 2 "ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นและแนวทางแก้ไข" ขอขอบคุณผู้บรรยาย คุณจักรพันธ์ ภวังคะรัตน์

КОМЕНТАРІ

  • @user-dq7uv9jw2z
    @user-dq7uv9jw2z 2 години тому

    ระแวง แอร์เลย

  • @mbrsawasdee1244
    @mbrsawasdee1244 3 години тому

    รบกวนสมาคมช่วยเผยแพร่ให้ช่างแอร์ทุกท่านทราบซ้ำแล้วซ้ำอีกจนขึ้นใจท่านช่างแอร์ก็คงจะช่วยลดอุบัติเหตุได้มากครับ

  • @CatLove-ek5bk
    @CatLove-ek5bk День тому

    อู้ช่างเมื่อกี้นี่แหลกป็นผงเลยมั้งเนี่ย😳😰😰

  • @kaikuiburi9329
    @kaikuiburi9329 День тому

    ใช่ คนเรียนปรับอากาศไม่มี แต่ใครก็ทำอาชีพไม่ต้องเรียนมาก็ได้ แต่หาดเป็นช่างเทคนิค ก็ตัองเรียนรู้

  • @user-gj6hv2bt5q
    @user-gj6hv2bt5q 4 дні тому

    ถ้าไม่ทำผิดขั้นตอนนะแอร์ไม่มีทางระเบิดครับผมช่างแอร์มาสามสิบปีไม่เห็นซักนิดเดียว

    • @user-jf5lt6dy9u
      @user-jf5lt6dy9u День тому

      แอร์มันไม่ได้ระเบิด แต่ออกซิเจน มันเป็นก๊าซช่วยไฟลาม ใครสั่งใครสอนให้เอาออกซิเจนมาทำธุระเกี่ยวกับไฟฟ้า แก็สหุงต้มจะไม่ติดไฟได้เลยถ้าไม่มีออกซิเจน เพราะฉะนั้น ออกซิเจนบริสุทธิ์ อันตรายอย่างมากเมื่อเกิดประกายไฟ

    • @somboonsiri5311
      @somboonsiri5311 23 години тому

      ถ้าหมายถึงใช้อ๊อกซิเจน ขอทราบขั้นตอนหน่อยครับ

    • @user-gj6hv2bt5q
      @user-gj6hv2bt5q 11 годин тому

      @@somboonsiri5311 มันไม่ไช่อ๊อกซิเจนแต่เขาใช้ในโตรเจ้นไล่ระบบมันก็ระเบิดเปิดแรงเกินซิครับ

  • @ThePuuc2
    @ThePuuc2 7 днів тому

    มักง่ายอย่างเดียวไม่ได้ ต้องโง่เบอร์ไหน

  • @user-bp9hs6vc6f
    @user-bp9hs6vc6f 9 днів тому

    มาตรฐานก็บอกอยู่แล้ว หาลี๊ค ให้ใช้ไนโตรเจนหา แต่อ๊อกซิเจนราคาถูกไง ประมาทชัดเจน

  • @NagaNongkhai
    @NagaNongkhai 13 днів тому

    Carburising Flame

  • @abkk456
    @abkk456 Місяць тому

    ในต่างประเทศเขาได้ทำการทดสอบและพิสูจน์ทราบ กันมานานหลายปีแล้ว ครับ 😂😂😂

  • @kiatkkk1
    @kiatkkk1 2 місяці тому

    แล้วถ้าไม่ถ่ายจะทำยังไงถึงจะมีเกจใช้

  • @user-yt3nm5jr2g
    @user-yt3nm5jr2g 2 місяці тому

    เป็นประโยชน์มากครับ

  • @user-ef7bt2um4z
    @user-ef7bt2um4z 2 місяці тому

    ถามครับแอร์ conceal type เป็นยังงัยครับ

  • @user-ef7bt2um4z
    @user-ef7bt2um4z 2 місяці тому

    สวัสดีครับ

  • @ponsukpodsuwan
    @ponsukpodsuwan 2 місяці тому

    ขอบคุณครับ

  • @thammanoonchantavorn8828
    @thammanoonchantavorn8828 2 місяці тому

    เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว (1) สมาคมปรับอากาศควรแก้ไขปรับปรุง (update) ข้อแนะนำการติดตั้งให้สอดคล้องกับยุคสมัยและเทคโนโนโลยี (2) ภาพนำเสนอตามวิดิโอนี้กล่าวถึงแอร์ขนาดไม่เกิน 60000 บีทียูต่อชั่วโมง หมายความว่า แอร์ใช้น้ำยา 60000 บีทียูต่อชั่วโมงขึ้นไปทุกชนิดยังคงต้องต้องมีตัวดักน้ำมัน (oil trap) ใช่หรือไม่ ข้อแนะนำควรต้องทำให้ชัดเจน (3) สำหรับแอร์ไม่เกิน 60000 ยีทียูต่อชั่วโมง ผู้ผลิตเครื่องปรับอากาศควรพิมพ์ลงในคู่มือติดตั้งให้ชัดเจนว่า "ต้องมี oil trap" หรือ "ไม่ต้องมี oil trap" เพื่อคนเกี่ยวข้องในวงการนี้เข้าใจตรงกัน ครับ

  • @warutsang6343
    @warutsang6343 2 місяці тому

    ขอบคุณครับ

  • @bydiy9927
    @bydiy9927 3 місяці тому

    แล้วแอร์ใหญ่ๆยังต้องทำไหมครับ 60000ขึ้นไป

  • @channel-hm3te
    @channel-hm3te 3 місяці тому

    มันต้องผ่านเจปรับแรงดันก่อนไหม จึงจะเปิดวาล์วเติมได้ เพราะไม่ว่าจะเปิดวาล์วออกมากเท่าไร ที่ปรับแรงดันก็ช่วยให้การ์ดเข้าไปช้าๆอย่างต่อเนื่อง และคอยดูที่เกจ์วัดด้วยว่าพอแล้วหรือยัง

  • @ThaDIY
    @ThaDIY 3 місяці тому

    ติดตามทุกๆคลิปเลยครับ

  • @nopphonaunmuean4674
    @nopphonaunmuean4674 4 місяці тому

    อัดไม่ผ่านเกจหรือไม่ได้ดูเกจที่ถังคิดว่าอย่างหลัง...ตอนนี้ผมยังถ่ายลมใส่ถังน้ำยาเลย(ถ้าจำเป็น) เเต่ผมอัดผ่านเกจ ใช้ถังR32 อัดลมไม่เกิน250psi เเค่นี้ก้เสียวเเล้ว เเต่ถังR32นี่400psiก็ยังเหลือๆ เเต่เราต้องปลอดภัยไว้ก่อน(ต้องเผื่อเเบบเหลือๆ)

  • @toomdeedenon3126
    @toomdeedenon3126 4 місяці тому

    คอยล์ร้อนแอร์ หนักเกือบ 50 กิโล สามารถแขวนกับผนังอิฐบล๊อคได้ไหมคะ หรือ ใช้ตัวช่วยวิธีใดช่วยในการติดแบบแขวนได้บ้าง เพราะจำเป็นต้องติดแบบแขวน

  • @tphonemobile4672
    @tphonemobile4672 4 місяці тому

    ฮีทอีพ็อกซี่หาได้ที่ไหนครับ

  • @somsak-pcp
    @somsak-pcp 5 місяців тому

    ขอบคุณสำหรับวิธีทดสอบมากเลยครับ ซื่อมาแล้วแต่ยังไม่กล้าเติมมาเจอคลิปนี้ สุดยอดเลยครับ ต้องทำการทดสอบก่อนแล้วแบบนี้😅😅

  • @user-pj8uc2oz1t
    @user-pj8uc2oz1t 6 місяців тому

    ซื้อที่ไหน

  • @user-lt4zy3ih7p
    @user-lt4zy3ih7p 6 місяців тому

    หายไปไหน น่ากลัวแท้

    • @user-qk7nr9vc4n
      @user-qk7nr9vc4n 6 годин тому

      ตกหลังคาตรงมุงบนซ้ายมือครับ

  • @user-pm8no4jg4e
    @user-pm8no4jg4e 7 місяців тому

    ตอนนี้ผมมีชื่อสัมภาษณ์เเล้วครับ

  • @user-bp2cf2dz7b
    @user-bp2cf2dz7b 8 місяців тому

    ขออนุญาตแชร์นะคะ

  • @user-bp2cf2dz7b
    @user-bp2cf2dz7b 8 місяців тому

    ขอบพระคุณมากๆ เลยค่ะ ร้านที่ขายพร้อมติดตั้ง ตรงนี้ต้องแจ้งลูกค้าเป็นประจำเลยค่ะ

  • @harin8311
    @harin8311 9 місяців тому

    มีใครรับเชื่อมคอยมิเนียมและเติมน้ำยาr32แถวโซนสนามบินสุวรรณภมิมั้งครับ

  • @akapongsurinsrirat2854
    @akapongsurinsrirat2854 9 місяців тому

    ฮีทอีฟ๊อกซี่หาซื้ได้ที่ไหนครับ

  • @saithongruenghui685
    @saithongruenghui685 9 місяців тому

    ผลการทดลองคอมแอร์ที่ผิดพลาด ระเบิดดีๆนี่เอง

  • @user-ed9nc3er2n
    @user-ed9nc3er2n 9 місяців тому

    ลวดเชื่อมสั่งชื้อที่ไหนครับ

  • @DVT-vc8wq
    @DVT-vc8wq 10 місяців тому

    ขอบคุณมากครับ

  • @tossapornsangsuan2478
    @tossapornsangsuan2478 Рік тому

    ยอดเยี่ยมคร้าบ

  • @noppongrattarit7856
    @noppongrattarit7856 Рік тому

    ขอบคุณครับ

  • @noppongrattarit7856
    @noppongrattarit7856 Рік тому

    ขอบคุณครับ

  • @user-ix1ry5pu8w
    @user-ix1ry5pu8w Рік тому

    หารอยรั่ว เขาใช้ไนโตรเจน ซึ่งเป็นก๊าซไม่ติดไฟ ห้ามใช้ออกซิเจน

  • @komkom-sm3kk
    @komkom-sm3kk Рік тому

    ต้องเรียน วิทยาลัยเทคนิค

  • @joehandsome5390
    @joehandsome5390 Рік тому

    การจัดท่อน้ำยา ไว้ต่างระดับกัน ท่อsupply ควรอยู่ด้านบนหรือด้านล่างหรอครับ

  • @aaabbb6341
    @aaabbb6341 Рік тому

    ถังเล็กที่มาเติมไม่มีการเทสแรงดันเนื่องจากผู้ใช้เติมเองมาตลอด โดยไม่ผ่านระบบการเทสแรงดันของโรงงานบรรจุก๊าส โดยอาขนำมาใช้ซึ่งอายุถังเล็กอาจหมดอายุต้องเทสใหม่แต่ดันมาบรรจุแก๊สต่อจึงเกิดเหตุ ถังอ๊อกซิเจนปกติเทสแรงดันทุก5ปี โดยใช้วิธีทดสอบอัดน้ำเข้าไปให้เกินแรงดันมาตราฐานที่บรรจุก็าส เทสทุกใบไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ต้องทนแรงดันได้หมด

  • @ronnawitrahchahun6455
    @ronnawitrahchahun6455 Рік тому

    ขอบคุณครับ

  • @user-lq1iz5zz6c
    @user-lq1iz5zz6c Рік тому

    มีเอกสารให้โหลดเพื่อเรียนตามไหมครับ

  • @panusaakshara6596
    @panusaakshara6596 Рік тому

    แต่เมียเค้าสิคะ แย่มาก ยิวที่สุด

  • @noppongrattarit7856
    @noppongrattarit7856 Рік тому

    ขอบคุณมากครับ

  • @user-uq5vg4lz5p
    @user-uq5vg4lz5p 2 роки тому

    เป็นประโยชน์มากครับ

  • @manager2522
    @manager2522 2 роки тому

    มีช่างรับติดตั้ง แนะนำบางมัยครับผม

  • @user-xn4lq1ji2n
    @user-xn4lq1ji2n 2 роки тому

    เปลี่ยนท่อจะดีกว่า ไม่คุ้มเลย

  • @buddhistscientist7419
    @buddhistscientist7419 2 роки тому

    ua-cam.com/video/OZKMWmEWOiI/v-deo.html มันเกิดการเปลี่ยนอุณหภูมิเร็วเกินไปครับ ต้องค่อยๆเติม

  • @CADElectronicsTH
    @CADElectronicsTH 2 роки тому

    ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับผม มีประโยชน์มากๆครับ

  • @user-ko2ei9zr3s
    @user-ko2ei9zr3s 2 роки тому

    สาธุครับ