มาร์ดูใบ
มาร์ดูใบ
  • 99
  • 52 883
Ep.6 (จบ) การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ
Ep.6 (จบ) การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ

ติดตามข้อมูลข่าวสารการทำการเกษตรที่อธิบายได้ด้วยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
#ช่องทางติดตาม :
เฟสบุ๊ค : MardubaiJamesThirasak
ยูทูป : www.youtube.com/@Mardubai
ติ๊กต๊อก : www.tiktok.com/@mardubai.jamesthirasak
เว็ปไซด์ : www.mardubai.in.th/

“พืชนั้นพูดกับเราไม่ได้ แต่สื่อสารผ่านลักษณะที่ปรากฏบนใบ”
มาร์ดูใบ by James Thirasak
#มาร์ดูใบ​ #หัวถนนการเกษตร​ #ปุ๋ยทุเรียน #ยาทุเรียน #ยาแมลง #ยารา​ #ปุ๋ยเคมี #ปุ๋ยอินทรีย์​ #ปุ๋ยอินทรีย์เคมี​ #เกษตรวิทยาศาสตร์​ #พืชผัก #ไม้ผล​ #CaB​ #แคลเซียมโบรอน #กรีนลีฟMIC #แร่ภูเขาไฟ​ #ธาตุอาหารพืช #กรดอะมิโน #สาหร่ายทะเล #น้ำตาลทางด่วน #ธาตุรวม #อัลเฟล็กซ์ #ฮอร์โมนพืช #ปุ๋ยน้ำ​ #ปุ๋ยระบบน้ำ​ #คีเลต #ปุ๋ยคีเลต #chelate #ยาน้ำ #ยาน้ำมัน #ยาน้ำครีม #ยาผง #ยาเม็ด
Переглядів: 331

Відео

Ep.5 การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ
Переглядів 2269 годин тому
Ep.5 การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ … ติดตามข้อมูลข่าวสารการทำการเกษตรที่อธิบายได้ด้วยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ #ช่องทางติดตาม : เฟสบุ๊ค : MardubaiJamesThirasak ยูทูป : www.youtube.com/@Mardubai ติ๊กต๊อก : www.tiktok.com/@mardubai.jamesthirasak เว็ปไซด์ : www.mardubai.in.th/ … “พืชนั้นพูดกับเราไม่ได้ แต่สื่อสารผ่านลักษณะที่ปรากฏบนใบ” มาร์ดูใบ by James Thirasak #มาร์ดูใบ​ #หัวถนนกา...
Ep.4 การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ
Переглядів 3159 годин тому
Ep.4 การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ … ติดตามข้อมูลข่าวสารการทำการเกษตรที่อธิบายได้ด้วยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ #ช่องทางติดตาม : เฟสบุ๊ค : MardubaiJamesThirasak ยูทูป : www.youtube.com/@Mardubai ติ๊กต๊อก : www.tiktok.com/@mardubai.jamesthirasak เว็ปไซด์ : www.mardubai.in.th/ … “พืชนั้นพูดกับเราไม่ได้ แต่สื่อสารผ่านลักษณะที่ปรากฏบนใบ” มาร์ดูใบ by James Thirasak #มาร์ดูใบ​ #หัวถนนกา...
Ep.3 การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ
Переглядів 4989 годин тому
Ep.3 การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ … ติดตามข้อมูลข่าวสารการทำการเกษตรที่อธิบายได้ด้วยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ #ช่องทางติดตาม : เฟสบุ๊ค : MardubaiJamesThirasak ยูทูป : www.youtube.com/@Mardubai ติ๊กต๊อก : www.tiktok.com/@mardubai.jamesthirasak เว็ปไซด์ : www.mardubai.in.th/ … “พืชนั้นพูดกับเราไม่ได้ แต่สื่อสารผ่านลักษณะที่ปรากฏบนใบ” มาร์ดูใบ by James Thirasak #มาร์ดูใบ​ #หัวถนนกา...
Ep.2 การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ
Переглядів 1,2 тис.12 годин тому
Ep.2 การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ … ติดตามข้อมูลข่าวสารการทำการเกษตรที่อธิบายได้ด้วยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ #ช่องทางติดตาม : เฟสบุ๊ค : MardubaiJamesThirasak ยูทูป : www.youtube.com/@Mardubai ติ๊กต๊อก : www.tiktok.com/@mardubai.jamesthirasak เว็ปไซด์ : www.mardubai.in.th/ … “พืชนั้นพูดกับเราไม่ได้ แต่สื่อสารผ่านลักษณะที่ปรากฏบนใบ” มาร์ดูใบ by James Thirasak #มาร์ดูใบ​ #หัวถนนกา...
Ep.1 การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ
Переглядів 93512 годин тому
Ep.1 การดูดซึมปุ๋ยและอาหารเสริมทางใบ … ติดตามข้อมูลข่าวสารการทำการเกษตรที่อธิบายได้ด้วยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ #ช่องทางติดตาม : เฟสบุ๊ค : MardubaiJamesThirasak ยูทูป : www.youtube.com/@Mardubai ติ๊กต๊อก : www.tiktok.com/@mardubai.jamesthirasak เว็ปไซด์ : www.mardubai.in.th/ … “พืชนั้นพูดกับเราไม่ได้ แต่สื่อสารผ่านลักษณะที่ปรากฏบนใบ” มาร์ดูใบ by James Thirasak #มาร์ดูใบ​ #หัวถนนกา...
Ep.1 สะสมอาหารเตรียมทำดอกทุเรียนกับ บริษัท นูตร้าแพลนต์ จำกัด
Переглядів 56914 днів тому
Ep.1 สะสมอาหารเตรียมทำดอกทุเรียนกับ บริษัท นูตร้าแพลนต์ จำกัด … ติดตามข้อมูลข่าวสารการทำการเกษตรที่อธิบายได้ด้วยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ #ช่องทางติดตาม : เฟสบุ๊ค : MardubaiJamesThirasak ยูทูป : www.youtube.com/@Mardubai ติ๊กต๊อก : www.tiktok.com/@mardubai.jamesthirasak เว็ปไซด์ : www.mardubai.in.th/ … “พืชนั้นพูดกับเราไม่ได้ แต่สื่อสารผ่านลักษณะที่ปรากฏบนใบ” มาร์ดูใบ by James Thir...
โรคต้นตุ่ยใบขาวในหอม-กระเทียม (Onion Bacterial Blight)
Переглядів 10021 день тому
โรคต้นตุ่ยใบขาวในหอม-กระเทียม (Onion Bacterial Blight)
ยาแมลง “ฟิโพรนิล” และ “ไวท์ออยล์”
Переглядів 1 тис.21 день тому
ยาแมลง “ฟิโพรนิล” และ “ไวท์ออยล์”
พ่นยาตอนไหนดี.?
Переглядів 29421 день тому
พ่นยาตอนไหนดี.?
การหลุดร่วงของใบ Ep.4 (จบ)
Переглядів 87228 днів тому
การหลุดร่วงของใบ Ep.4 (จบ)
การหลุดร่วงของใบ Ep.3
Переглядів 543Місяць тому
การหลุดร่วงของใบ Ep.3
การหลุดร่วงของใบ Ep.2
Переглядів 586Місяць тому
การหลุดร่วงของใบ Ep.2
การหลุดร่วงของใบ Ep.1
Переглядів 1,3 тис.Місяць тому
การหลุดร่วงของใบ Ep.1
ปากกาวัดคุณภาพน้ำ/ดิน Ep.2
Переглядів 189Місяць тому
ปากกาวัดคุณภาพน้ำ/ดิน Ep.2
ปากกาวัดคุณภาพน้ำ/ดิน Ep.1
Переглядів 241Місяць тому
ปากกาวัดคุณภาพน้ำ/ดิน Ep.1
Ep.8 (จบ) : C/N​ เรโช​ และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล​
Переглядів 788Місяць тому
Ep.8 (จบ) : C/N​ เรโช​ และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล​
Ep.7 : C/N​ เรโช​ และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล​
Переглядів 940Місяць тому
Ep.7 : C/N​ เรโช​ และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล​
Ep.6 : C/N​ เรโช​ และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล​
Переглядів 1 тис.Місяць тому
Ep.6 : C/N​ เรโช​ และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล​
Ep.5 : C/N​ เรโช​ และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล​
Переглядів 1,9 тис.Місяць тому
Ep.5 : C/N​ เรโช​ และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล​
Ep.4 : C/N​ เรโช​ และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล​
Переглядів 4 тис.Місяць тому
Ep.4 : C/N​ เรโช​ และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล​
Ep.3 : C/N​ เรโช​ และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล​
Переглядів 1,4 тис.Місяць тому
Ep.3 : C/N​ เรโช​ และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล​
โรคกิ่งแห้งตายหรือโรคกิ่งเน่าตายในทุเรียน
Переглядів 403Місяць тому
โรคกิ่งแห้งตายหรือโรคกิ่งเน่าตายในทุเรียน
โรคใบจุด-ใบไหม้ในทุเรียนเชื้อรา​โพมอฟซีส​
Переглядів 237Місяць тому
โรคใบจุด-ใบไหม้ในทุเรียนเชื้อรา​โพมอฟซีส​
โรคราใบติดทุเรียน​ หรือโรคใบติดทุเรียน (Rhizoctonia Leaf blight) เชื้อรา Rhizoctonia solani Ep.1/3
Переглядів 164Місяць тому
โรคราใบติดทุเรียน​ หรือโรคใบติดทุเรียน (Rhizoctonia Leaf blight) เชื้อรา Rhizoctonia solani Ep.1/3
Ep.2 : C/N เรโช และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล
Переглядів 998Місяць тому
Ep.2 : C/N เรโช และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล
Ep.1 : C/N เรโช และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล
Переглядів 700Місяць тому
Ep.1 : C/N เรโช และฮอร์โมนต่อการออกดอกของไม้ผล
ปุ๋ยคีเลต (Chelated Fertilizer) คืออะไร
Переглядів 534Місяць тому
ปุ๋ยคีเลต (Chelated Fertilizer) คืออะไร
แร่ภูเขาไฟศรีสะเกษและผลวิเคราะห์ธาตุอาหารพืชและธาตุเสริมประโยชน์พืช
Переглядів 206Місяць тому
แร่ภูเขาไฟศรีสะเกษและผลวิเคราะห์ธาตุอาหารพืชและธาตุเสริมประโยชน์พืช
การใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์เวิร์คสุด #ปุ๋ย #ปุ๋ยเคมี #ปุ๋ยอินทรีย์เคมี #ปุ๋ยอินทรีย์
Переглядів 4042 місяці тому
การใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์เวิร์คสุด #ปุ๋ย #ปุ๋ยเคมี #ปุ๋ยอินทรีย์เคมี #ปุ๋ยอินทรีย์

КОМЕНТАРІ

  • @lazyfarmer4595
    @lazyfarmer4595 2 дні тому

    พี่เจมส์ครับผมอยากสอบถามครับว่าถ้าเราเอาฟิโพลนิว sc ผสมกับน้ำแล้วปล่อยไปทางสายน้ำหยดเพื่อป้องกันหนอนกอในอ้อย หรือแมลงในไร่ข้าวโพดได้ไหมครับ พืชสามารถดูดสารได้ทางรากเหมือนสูตร Gr ไหมครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 2 дні тому

      @@lazyfarmer4595 ได้ครับ​ ถ้าจำไม่ผิดมีคำแนะนำใช้​ ฟิโพรนิล​ 5% อัตรา​ 200-250 ซีซี​/ไร่

    • @lazyfarmer4595
      @lazyfarmer4595 2 дні тому

      @ ขอบคุณมากครับ

  • @MeddlerOx69
    @MeddlerOx69 2 дні тому

    มีประโยชน์มากเลยครับ เดี๋ยวนี้อะไร ๆ ก็ฉีดพ่นทางใบ เข้าได้มากได้น้อยขึ้นกับปัจจัยใดบ้าง เกษตรกรไม่ค่อยรู้

  • @ภคพล-ร5ช
    @ภคพล-ร5ช 2 дні тому

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ..🙏..

  • @supawadeesommung9226
    @supawadeesommung9226 2 дні тому

    ฟังพี่เจมส์แล้วเข้าใจเลยว่าทำไมต้องพ่นปุ๋ยตอนเช้ากับตอนเย็น ถึงเห็นผลดีที่สุด ความชื้นมีผลต่อการละลาย❤ ขอบคุณข้อมูลดีๆที่นำมาเผยแพร่ โดยที่ไม่ต้องเข้าไปเรียนในห้องเรียนค่ะ

    • @Mardubai
      @Mardubai 2 дні тому

      @@supawadeesommung9226 ขอบคุณ​ครับ​

  • @BSF_HydrOrganic_Farm
    @BSF_HydrOrganic_Farm 2 дні тому

    ในส่วนตาราง Excel ตรงที่เป็นปุ๋ยมะเขือเทศ แต่มีแค่ช่อง NPK ส่วนช่องของธาตุรอง กับ ธาตุเสริมไม่มี แล้วเราจะรู้ได้จากไหนครับว่า มะเขือเทศต้องการเท่าไหร่

    • @Mardubai
      @Mardubai 2 дні тому

      ในลิงค์โหลดตาราง​ excel มีคำแนะนำให้อยู่ครับ

  • @supholdech1
    @supholdech1 2 дні тому

    รบกวน ถาม อาจารย์ ครับ ว่า กรดฟอสฟอนิก เมื่อ เรา ฉีดเข้าในต้นแล้ว พืช สามารถ แปลง เป็น ฟอสฟอรัส ได้ไหม ครับ ขอบคุณ อาจารย์ ล่วงหน้าครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 2 дні тому

      @@supholdech1 เคยอ่านเจอในหนังสือ​ ถ้าจำไม่ผิดจะเป็นของผศ.ดร. ยงยุทธ​ โอสถสภา​ ดังนั้นขออ้างอิงจากหนังสือ​ "ธาตุอาหารพืช" เล่มนี้เป็นหลัก ถ้าจำไม่ผิด​ "ในพืชจะเกิดการเปลี่ยนไปเป็นฟอสฟอรัสได้ยากมาก​ และส่วนใหญ่กรดฟอสฟอนิกเมื่อเข้าสู่พืชในระดับเซลล์จะถูกนำไปเก็บในถุงแวคิวโอล (ถุงเก็บสารต่างๆ​ รวมถึงสารพิษ" อธิบายเพิ่มเติม: กรดฟอสฟอนิก, ปุ๋ยน้ำสูตร​ฟอสไฟต์​ และฟอสอิทิลอะลูมิเนียม​ ทั้ง​ 3 ตัว​ มีฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบหลัก​ ซึ่งมีโครงสารเคมีเป็น​ พีโอสาม​ (PO₃¯)​ ไม่อยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์​ต่อพืช​ แต่พืชดูดซึมได้และเป็นพิษต่อจุลินทรีย์​หลากชนิด​ รวมถึงเป็นพิษต่อพืชถ้าได้รับในปริมาณ​มาก​ PO₃¯ มีความเสถียรหรือความแข็งแรงของโครงสร้างเคมีสูงมาก​ มักไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง​ ส่วนปุ๋ยฟอสฟอรัสที่ใส่ให้พืช​ จะมีโครงสร้างเคมีเป็นฟอสเฟต​ คือ​ พีโอสี่​ (PO₄¯)​ เป็นรูปที่พืชใช้ประโยชน์ ในทางเคมี​ (ห้องแลป/ห้องทดลอง)​ สามารถทำปฏิกิริยา​เคมีให้​ ฟอสไฟต์ (PO₃¯)​ เป็น​ ฟอสเฟต​ (PO₄¯)​ ได้​ ในดินก็เช่นกัน​ (ถ้าจำไม่ผิด)​ จะเป็นเชื้อแบคทีเรียบางชนิด​ แต่ใช้ระยะเวลายาวนานมาก​ และไม่เกิดผลเท่าที่ควร โดยสรุป​ กรดฟอสฟอนิก, ปุ๋ยน้ำฟอสไฟต์​ และฟอสอิทิลอะลูเมียม​ เมื่อเข้าสู่พืช​ ๆ​ ไม่สามารถใช้ประโยชน์ฟอสฟอรัสที่ได้ในรูปฟอสไฟต์และฟอสไฟต์เป็นพิษ​ต่อพืช

    • @Mardubai
      @Mardubai 2 дні тому

      @@supholdech1 อย่าเรียกอาจารย์เลยครับ​ เรียกเจมส์ก็พอครับ

  • @เกษตรประยุกต์ในยุคประยุทธ์

    ขอบคุณที่ให้ความรู้ครับ

  • @sujetk2537
    @sujetk2537 2 дні тому

    การใช้สารแพ็คโคลราดใต้โคนต้นทุเรียนมีวิธีการอย่างไรครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 2 дні тому

      @@sujetk2537 ไม่แนะนำครับ​ รากจะพังได้ครับ

  • @วัฒนะ-ฝ9ฤ
    @วัฒนะ-ฝ9ฤ 2 дні тому

    ได้ความรู้มากครับ เรื่องพืช และการเกษตร😊

  • @lazyfarmer4595
    @lazyfarmer4595 3 дні тому

    แบบนี้น้ำตาลทรายสามารถฉีดพ่นทางใบได้ใช่ไหมครับไม่จำเป็นต้องเป็นน้ำตาลกลูโคสอย่างเดียว

    • @Mardubai
      @Mardubai 3 дні тому

      @@lazyfarmer4595 ใช่ครับ

  • @alookzz
    @alookzz 3 дні тому

    คุณภาพคับแก้วเลยค้าบบบบ ขอบคุณครับ

  • @สถาพรแก้วจันทร์-ฬ3ฤ

    ดูคลิปจบแล้ว ทำไงให้เพิ่ม c มากกว่า n

    • @Mardubai
      @Mardubai 3 дні тому

      @@สถาพรแก้วจันทร์-ฬ3ฤ มีคลิป​ทั้งหมด​ 8​ ตอนครับ, แต่ถ้าเอาง่ายๆ​ ก็ใส่ปุ๋ยที่มีสัดส่วนท้ายสูงกว่า​ตัวหน้า​ ตั้งแต่ใบชุดแรก, ใบชุดสุดท้ายก่อนทำดอก​ ขอให้ปุ๋ยตัวท้ายสูงเข้าไว้​ เช่น​ 14-7-35, 10-10-30, 8-24-24 และตัดแต่งกิ่งแขนง​ กิ่งไม่สมบูรณ์​และกิ่งเป็นโรคออกก่อนทำดอกไม่น้อยกว่า​ 30-45​ วัน​ โดยประมาณ นอกจากนี่ยังมีอีกหลายวิธีและปัจจัยส่งเสริม​ C/N​ ให้กว้างมากขึ้น

  • @โอรสสงคราม

    มาเรื่อยๆนะคับดีมากคับ❤

  • @tanatonlovanit6188
    @tanatonlovanit6188 4 дні тому

    สรุปแล้วปุ๋ยทางใบพ่นตอนเย็นช่วงหัวค่ำก็ได้ผลเหมือนพ่นตอนเช้ามืดกันใช่ไหมครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 4 дні тому

      @@tanatonlovanit6188 ใช่ครับ​ ไม่ค่อยต่างกันมาก​ เพราะมีปัจจัยอื่นๆ​ ประกอบอีกเยอะ

  • @นัฐวุฒิผาย้อย

    21-0-0 พ่นทางใบได้มั้ยครับ ไนโตรเจนอยู่ในรูปที่เข้าปากใบพืชได้มั้ยครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 4 дні тому

      @@นัฐวุฒิผาย้อย 21-0-0 ละลายน้ำ​ เข้าทางใบได้​ แต่ไม่ค่อยแนะนำใช้​ 21-0-0 ตรงๆ​ ครับ​ ถ้าจะใช้แนะนำควรใช้อัตราต่ำๆ​ และผสมกับปุ๋ยตัวอื่นเพื่อให้ได้สัดส่วนที่เหมาะสม เนื่องจากในสภาพร้อนจัด​ อาจเกิดการสะสมแอมโมเนียมมากเกินไป​ และใบไหม้ได้ง่าย

  • @davidyeordpoe323
    @davidyeordpoe323 4 дні тому

    ดูช่องนี้ครั้งแรกเอง กดสับตะไคร้เลย

  • @สุดใจที่มี-ฌ3พ

    ช่องนี้โคตรให้ความรู้เลยชอบๆ

  • @AnucharKassaratikul
    @AnucharKassaratikul 5 днів тому

    ชอบมากติดตามทุกคริปเลย

    • @Mardubai
      @Mardubai 5 днів тому

      @@AnucharKassaratikul ขอบคุณ​มาก​ครับ​

  • @jzjz2801
    @jzjz2801 7 днів тому

    แล้วควรตัดยอดในชุดใบไหนครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 5 днів тому

      @@jzjz2801 หลังเก็บเกี่ยวผลครับ

  • @KittipanPhatchu
    @KittipanPhatchu 7 днів тому

    ติดตามพี่เจมส์ครับ แนะนำได้ดีมากเลยมีเหตุผลรองรับ ผมนี้ติดตามเลยครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 7 днів тому

      @@KittipanPhatchu ขอบคุณ​มาก​ครับ​

  • @สุดใจที่มี-ฌ3พ

    ปุ๋ยสูตร16-20-0ใส่ทุเรียน4ปีได้ไหมครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 7 днів тому

      @@สุดใจที่มี-ฌ3พ ไม่มีตัวท้ายเลยครับ​ และตัวหน้าต่ำ ส่วนตัวผมมองว่าถ้าใช้เดี่ยวๆ​ ไม่แนะนำ

    • @สุดใจที่มี-ฌ3พ
      @สุดใจที่มี-ฌ3พ 7 днів тому

      @Mardubai 15-5-25ดีกว่าใช่ไหมครับ

    • @สุดใจที่มี-ฌ3พ
      @สุดใจที่มี-ฌ3พ 7 днів тому

      ขอความรู้อีกข้อนะครับ ปุ๋ยสูตร20-8-20ใส่ทุเรียน4ปีได้ไหมครับและควรใส่ช่วงไหนครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 5 днів тому

      @@สุดใจที่มี-ฌ3พ 20-8-20 ใส่ได้ครับ​ ถ้า​ทุเรียน​ 4 ปี​ ใส่ได้ตลอด แต่ถ้าจะเริ่ม​เอาผล​ ช่วงทำใบ​ 1 เป็นต้นไป​ แนะนำ​ 15-5-20​/ 15-5-25​

  • @ทุเรียนมือใหม่บ้านทุเรียน

    วิธีแก้ไขทุเรียนน้ำท่วม 1. ล้างขี้โคนออกจากหน้าดินบริเวณทรงพุ่ม เพื่อให้มีช่องว่างรูอากาศให้กับรากพืช 2. ราดด่างทับทิม 50 กรัม/น้ำ 200ลิตร หรือซุปเปอร์เอ๊กซ์ เทลาคลอใช้ตามฉลาก กำจัดเชื้อราในดิน 3. ฟื้นฟูระบบรากด้วยอะมิโน ฮิวมิค ฟลูวิคืน 4. ราดสารเร่งราก / สารปรับปรุงสภาพดิน 5.งดใช้สารเคมีหรือปุ๋ยเคมี 6. งดการให้น้ำ ปล่อยให้อากาศผ่านเข้าไปในดิน 7. ใช้สาร่าย อะมิโน + ธาตุสังกะสี ฉีดพ่นทางใบ ลดภาวะความเครียด 8. ผ่านพ้นไป 20-30 วันฉีดพ่นทางใบด้วยอาหารรองเสริม เพราะระบบรากกำลังฟื้นฟู 9. การให้น้ำดูตามสภาพดิน อากาศและความชื้นในดินเป็นสำคัญ 10. อ่านใบ อาการใบที่มีการตอบสนอง (ไม่เกินนี้ครับ เป็นกำลังใจให้ทุกๆสวนที่หลังน้ำท่วมครับ)

  • @สมมาศวิธุระ

    🎉❤

  • @suraponharindech4489
    @suraponharindech4489 24 дні тому

    บอกลงท้ายทริน ไม่ใช้เลย แต่แนะนำให้ใชไบเฟนทริน ตกลงพูดมั่ว หรือพูดถูก ครับ ฟังที่พูดดีๆ

    • @Mardubai
      @Mardubai 24 дні тому

      @@suraponharindech4489 เป็นขอยกเว้นของยาแมลงกลุ่ม​ 3A, จะมี​ 3 ตัว​ ไบเฟนทริน​ เพอร์เมทริน​ และอีโทเฟนฟร็อก​ ในคลิปไม่ได้พูดเรื่องขอยกเว้นหรือครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 24 дні тому

      ผมกลับมาฟังแล้ว​ ช่วงท้ายคลิปมีบอกไว้อยู่ว่า​ ใช้ได้​ 3 ตัวตามที่กล่าว

  • @iNay.555
    @iNay.555 25 днів тому

    การที่ใบดำตันหมายความว่าโครงสร้างของใบดีใช่หรือไหมครับ และแบบนี้ใบที่ดำตันมากก็สามารถสร้างอาหารไปเก็บไว้ที่ลำต้นได้ดีกว่ารึปล่าวครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 24 дні тому

      @@iNay.555 ถ้าใบเขียวเข้มตามปกตินะครับ​ ยกเว้นการพยายามทำให้ใบเขียวดำด้วยวิธีการที่ผิดปกติ​ จะเป็นการสร้าง​ N​ สะสมที่ใบ​ ซึ่งกระทบต่อสัดส่วน​ C/N

  • @worapots
    @worapots 25 днів тому

    ประเทศไทยใส่ 8-24-24 ต่างประเทศที่ปลูกไม้ผลเมืองร้อนใส่ปุ๋ยอะไรสะสมอาหารครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 25 днів тому

      @@worapots ทั่วๆ​ ไปก็ไม่ต่างจากบ้านเราหรอกครับ, ยกเว้นกรณีใช้ผลวิเคราะห์​ค่าปริมาณ​ธาตุอาหารที่พบในพืช

  • @InterMobile-r9i
    @InterMobile-r9i 26 днів тому

    ปุ๋ยน้ำทำไมข้างสลากแนะนำให้ใช้100ถึง 150ccต่อน้ำ20 ลิตรแต่คำแนะนำของร้านให้ใช้แค่30 ccต่อน้ำ 20 ลิตรตกลงใช้อัตราไหนกันแน่

    • @Mardubai
      @Mardubai 20 днів тому

      @@InterMobile-r9i ปัญหา​โลกแตกครับ, โดยส่วนตัวผมถ้าเป็นพวกปุ๋ยทางใบ​ ไนโตรเจน​-ฟอสฟอรัส-โพแทสเซียม​ (N-P-K)​ บนฉลากแนะนำ​อัตรา​ 100-150​ ซีซี./น้ำ​ 20 ลิตร​ ผมจะยึดอัตราต่ำที่​ 100 ซีซี.​ ก่อน​ ยกเว้นกรณีต้องการความเร่งด่วนหรือแก้ไขอาการผิดปกติบางประการ​ จึงจะใช้อัตรา​ 150​ ซี​ซี./น้ำ​ 20 ลิตร แต่ถ้าพ่นทางใบเพื่อเสริมส่วนอื่นๆ​ หรือเสริมเพิ่มเติมในต้นที่สมบูรณ์​ดีแล้ว​ ผมจะลดอัตราลงมา​ครึ่งหนึ่งหรือ​ 3/4 เช่น​ 50​-70 ซีซี./น้ำ​ 200 ลิตร และเมื่อใช้อัตราสูงขนาดนี้​ ผมจึงมักแนะนำปุ๋ยทางใบที่ราคาถูกๆ​ *อนึ่ง​ ต้องเข้าใจบริบทการใช้ปุ๋ยทางใบด้วยว่า​ "ไม่สามารถทดแทนการใช้ปุ๋ยทางราก/ดินได้, ปุ๋ยหรืออาหารเสริมพ่นทางใบมีข้อจำกัดในการดูดซึม" (การดูด​ซึมทางใบอย่างเก่งคงไม่เกิน​ 7-8% จากปริมาณ​ที่พ่น, หากมีเทคโนโลยี​ที่ดีในการผลิตปุ๋ย​ ก็คงไม่เกินกว่านี้ไปเท่าไร่)​

  • @พรสวรรค์อนันต์

    ขอบคุณ​ครับ​ ได้​รับ​ความ​รู้​เยอะ​เลย​ ติดตาม​ครับ​

  • @dogdev9385
    @dogdev9385 29 днів тому

    สามารถเพิ่ม c เองได้ไหมครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 29 днів тому

      @@dogdev9385 ไม่เข้าใจคำถามครับ​

    • @dogdev9385
      @dogdev9385 29 днів тому

      @@Mardubai C/N เรโช

    • @Mardubai
      @Mardubai 29 днів тому

      ​@@dogdev9385 คือผมไม่เข้าใจต้องที่ถามว่า​ เพิ่ม​ C​ ได้เอง คำถามหมายถึงเพิ่ม​ C​ ได้เองจากการทำอะไรหรือครับ

    • @Korawit21
      @Korawit21 8 днів тому

      เอาน้ำตาลไปพ่นจะเป็นการเพิ่ม c ไหมครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 7 днів тому

      @@Korawit21 ได้ครับ​ โดยเป็นผลพลอยได้เรื่องของพลังงาน​ ที่ต่อไปจะนำไปสังเคราะห์​แสง​ ได้น้ำตาลออกมาเพิ่มขึ้น​ หากมีการใช้ปุ๋ยที่ไม่ขาดK หรือมี​ K​ เหมาะสม ก็จะสามารถเพิ่มสัด​สวน​ C​ ได้ครับ

  • @Lic-w3h
    @Lic-w3h 29 днів тому

    อ.ค่ะ ขออณุญาติถามว่าถ้าช่วงนั้นฝนตกอยุ่ก็ไม่เป็นไรใช่ไหมค่ะถ้าใช้โดสสุงๆ ติดตามอยุ่ทั้งในเฟสและยุทุปแเลยค่ะ ได้ความรุ้ดีมากๆ

    • @Mardubai
      @Mardubai 29 днів тому

      @@Lic-w3h โดสสูงหมายถึง​ 13-0-46​ ใช่ไหมครับ ถ้าใช้​ ทั้งฝนชุกและไม่มีฝนใช้ได้ครับ

    • @Lic-w3h
      @Lic-w3h 29 днів тому

      @Mardubai ขอบคุณค่ะ

  • @paramaterakungtong4658
    @paramaterakungtong4658 Місяць тому

    สอบวันไหนครับจาน

  • @MsAksrawut666
    @MsAksrawut666 Місяць тому

    สามารถใช้ ไซโตไคนินกระตุน/เพิ่ม เปิดตาดอกได้ไหม หรือช่วงไหนที่แนะนำให้ใสหรือไม่ให้ใสคราบ..ขอบคุณคราบ

    • @Mardubai
      @Mardubai Місяць тому

      @@MsAksrawut666 ถ้าเป็นไม้ผล​ ช่วงกักโศก/ลดการให้น้ำ หลังจากใบชุดสุดท้ายแก่เต็มทีราว​ 30-45 วัน​ แล้วเริ่มงดน้ำกักโศก​ สามารถใช้ไซโตไคนินพ่นท้องกิ่งทุเรียนได้ครับ​ หรือในไม้ผลที่ออกดอกที่หลายกิ่งก็พ่นที่ทรงพุ่ม

  • @MsAksrawut666
    @MsAksrawut666 Місяць тому

    13-0-46ต่างกันไหมคราบกับ 13-5-42 หรือใช้แทนกันได้ไหม

    • @Mardubai
      @Mardubai Місяць тому

      @@MsAksrawut666 ต้องถามผู้จำหน่าว่า​ 13-5-42 ปุ๋ยตัวหน้าเป็นไนเตรทหรือไม่​ ถ้าเป็นก็ใช้ทดแทนได้ครับ

  • @Lic-w3h
    @Lic-w3h Місяць тому

    อ.ค่ะ กรณีที่ต้นเราโทรมหลังเก็บเกี่ยว เเล้วเราไปใส่46-0-0 ต้นถ่ายใบทั้งต้นแล้วไม่ยอมแตกใบใหม่เลย ตอนนี้คือยืนต้นโดดๆไม่มีใบมีแต่แขนงติดลำต้นไม่กี่อันจะทำไงดีค่ะ

    • @Mardubai
      @Mardubai Місяць тому

      @@Lic-w3h ใช้สูตรท้ายคลิปได้เลยครับ​ รากมาเมื่อไหร่ก็จะเริ่มแตกใบได้​ พอมบเริ่มกางควรเร่งให้ใบแก่เร๋งโดยการพ่นน้ำตาลทางด่วน​ 300​ ซีซี​ + จุลธาตุรวมที่มีแมกนีเซียมร่วมด้วย 100-200 กรัม​ + ปุ๋ย​เกล็ด​ 13-0-46​ หรือ​ 20-10-30 หรือ​ 15-5-25​ อัตราสูงๆ​ เช่น​ 1 กก. *อัตราต่อน้ำ​ 200​ ลิตร​

    • @Lic-w3h
      @Lic-w3h Місяць тому

      @Mardubai กราบขอบพระคุณอย่างสูงเลยค่ะ ไม่รุ้จะหาวิธีไหนแล้วค่ะ 🙏🙏

  • @suraponharindech4489
    @suraponharindech4489 Місяць тому

    มันช่วยให้พืชนำไปใช้งานเต็มที่ ไม่ใช่เหรอ ตำราต่างประเทศผู้ผลิตเค้าว่าแบบนั้น

    • @Mardubai
      @Mardubai Місяць тому

      @@suraponharindech4489 ใช่ครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai Місяць тому

      @@suraponharindech4489 แต่ก็ไม่มีอะไรได้​ 100% เพราะยังมีปัจจัยอื่นๆ​ ประกอบด้วยครับ

    • @suraponharindech4489
      @suraponharindech4489 Місяць тому

      ขอบคุณครับ

  • @suraponharindech4489
    @suraponharindech4489 Місяць тому

    เครื่องกวนดี ก็ใส่เลยไม่ได้เหรอครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai Місяць тому

      หมายถึงตอนผสมยาใช่ไหมครับ​ แล้วมีเครื่องกวนยาในถังพ่น​ ถ้าเป็นลักษณะ​นี้ก็ผสมยาลงถังได้เลยเหมือนกันครับ​ แต่ถึงอย่างนั้นผมก็ยังแนะนำว่า​ ควรละลายยาข้างนอกก่อนเทลงถังผสมครับ​ เพราะจังหวะเทยาที่ละลายแล้วจะไม่เข้มข้นมากเกินไป​ จะลดการตกตะกอนหรือการรวมตัวของสารแล้วตกตะกอนหรือลดประสิทธิภาพ​ของยาได้ดีขึ้นครับ

  • @psmobile157
    @psmobile157 Місяць тому

    วัดความเค็มของดินหัวหน่วยจะเป็นppm ใช่ไหมคะรับ

  • @เชาวรัชจันทร์

    ขอบคุณครับ

  • @เชาวรัชจันทร์

    ขอบคุณครับ

  • @เชาวรัชจันทร์

    ขอบคุณครับ

  • @SakJit2517
    @SakJit2517 Місяць тому

    ขอข้อมูลค่าประจุของปุ๋ยที่ละลายแล้วหน่อยครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai Місяць тому

      @@SakJit2517 ธาตุอาหารพืช แบ่งออกเป็นมหาธาตุ (Macronutrients) และจุลธาตุ (Micronutrients) คือ # มหาธาตุ (Macronutrients) 1. ธาตุอาหารหลัก (Primary nutrient elements) ตำราโดยทั่วไปมักไม่ระบุ คาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) และออกซิเจน (O) แม้พืชจะใช้ในปริมาณมากกว่า 92-95% เพราะได้มาจากน้ำและก๊าซ คาร์บอน (Carbon; C): พืชได้จากก๊าซคาร์บอนไดอกไซด์ (CO₂) ในอากาศ ไฮโดรเจน (Hydrogen; H): พืชได้จากน้ำ (H₂O) ออกซิเจน (Oxygen; O): พืชได้จากก๊าซออกซิเจน (O₂) และน้ำ (H₂O) ไนโตรเจน (Nitrogen; N): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ ไนเตรท (NO₃¯) และแอมโมเนียม (NH₄⁺) ฟอสฟอรัส (Phosphorus; P): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ ฟอสเฟตไอออนในรูปออโธฟอสเฟต (orthophosphate) ได้แก่ ไดไฮโดรเจนฟอสเฟต (H₂PO₄¯) และไฮโดรเจนฟอสเฟต (HPO₄²¯) โพแทสเซียม (Potassium; K): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ โพแทสเซียมไอออน (K⁺) 2. ธาตุอาหารรอง (Secondary nutrient elements) ได้แก่ แคลเซียม (Calcium; Ca): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ แคลเซียมไอออน (Ca²⁺) แมกนีเซียม (Magnesium; Mg): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ แมกนีเซียมไอออน (Mg²⁺) กำมะถัน หรือซัลเฟอร์ (Sulfur; S): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ ซัลเฟต (SO₄²¯) # จุลธาตุ หรือธาตุอาหารเสริม (Micronutrients) เหล็ก (Iron; Fe): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ ไอออนของเหล็ก ได้แก่ เฟอร์รัส (Ferrous; Fe²⁺) และเฟอร์ริก (Ferric; Fe³⁺) สังกะสี หรือซิงค์ (Zinc; Zn): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ ไอออนของสังกะสี (Zn²⁺) แมงกานีส (Manganese; Mn): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ ไอออนของแมงกานีส (Mn²⁺) ทองแดง หรือคอปเปอร์ (Copper; Cu): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ ไอออนของทองแดง (Cu²⁺) โบรอน (Boron; B): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ กรดบอริก (Boric acid; H₃BO₃) และสารประกอบบอเรต (borate; H₂BO₃¯ หรือ B₄O₇) โมลิบดีนัม (Molybdenum; Mo): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ โมลิบเดต (molybdate; MoO₃²¯) คลอรีน (Chlorine; Cl): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ คลอไรด์ (Cl¯) นิเกิ้ล (Nikle; Ni): รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืชคือ ไอออนของนิเกิ้ล (Ni²⁺) # ธาตุเสริมประโยชน์ (Beneficial elements) ได้แก่ ธาตุซิลิคอน (SiO₂) โซเดียม (Na²⁺) ซีลีเนียม (SeO₃²¯ และ SeO₄²¯) โคบอลต์ (Co²⁺) อะลูมินัม (Al³⁺ แต่ที่จริงแล้วถ้าเขียนให้ถูกต้องพืชดูดใช้ในรูปสารประกอบคือ Al(H₂O)₆³⁺, AlOH2+ และ Al(OH)₂⁺) วาเนเดียม (พืชดูดใช้ในรูปสารประกอบออกไซด์ คือ VO²⁺ และ VO₃¯) ไทเทเนียม (สัญลักษณ์ธาตุ Ti) และธาตุหายากบางชนิด

  • @ctnk6210
    @ctnk6210 2 місяці тому

    สไลด์มีแจกไหมครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 2 місяці тому

      เข้าไปโหลดได้ที่ลิงค์ในเว็ปครับ www.mardubai.in.th/slide-pest-management-durian

    • @Mardubai
      @Mardubai 2 місяці тому

      อาจมีบางสไลด์ที่ยังไม่ได้แก้คำผิดนะครับ

    • @ctnk6210
      @ctnk6210 2 місяці тому

      ขอบคุณมากครับผม

  • @durianchumphae
    @durianchumphae 2 місяці тому

    มาหาความรู้ด้วยจ้า

  • @จิรัฏฐ์เจริญเศรษฐกุล

    โรคแอนแทคโนส ยาตัวไหนเก่งครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 2 місяці тому

      @@จิรัฏฐ์เจริญเศรษฐกุล โพรคลอราซ ครับ.. ดูพืชด้วยนะครับ​ บางพืชอาจจะกบได้

  • @PraechapolPyk
    @PraechapolPyk 2 місяці тому

    เอาโดโลไมท์ละลายกับน้ำแล้วราดรดดิน และ แบบหว่านเป็นแบบผงลงดิน แบบไหนดีกว่ากัน

    • @Mardubai
      @Mardubai 2 місяці тому

      @@PraechapolPyk ถ้าอัตราใส่ต่อต้นหรือต่อพื้นที่เท่ากัน​ ประสิทธิภาพ​พอๆ​ กัน​ แต่การหว่านจะทำงานสะดวกกว่า

  • @skakee08
    @skakee08 3 місяці тому

    พาราที่ใหนหมากินได้ บ้าไปแล้ว

  • @สวัสดีเมืองไทย-ท2น

    ขอไฟล์ในสไลที่สอนหน่อยครับ

    • @Mardubai
      @Mardubai 24 дні тому

      @@สวัสดีเมืองไทย-ท2น ตามลิงค์ครับ www.mardubai.in.th/slide-pest-management-durian​

  • @NutNut-i7l
    @NutNut-i7l 4 місяці тому

    สวัสดีค่ะเข้ามาศึกษาค่ะ